การบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวผ่านมุมมองบริบทสังคมไทย กับบริบทประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
Main Article Content
Abstract
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายถึงกระบวนการทำให้เกิดการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวเพื่อเตรียมพร้อมกับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) โดยแรงงานต่างด้าวในที่นี้จะเน้นแรงงาน 3 สัญชาติ ตามมติคณะรัฐมนตรี พ.ศ.2550 คือ ลาว กัมพูชา และพม่า โดยมองผ่านบริบทสังคมไทย และบริบทประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึ่งจะปรากฏในรูปแบบของแรงงานทั้งผู้ที่ปรารถนาในการเข้ามาทำงาน โดยมีพื้นฐานทางด้านเศรษฐกิจเป็นปัจจัยหลัก กับอีกกลุ่มที่ถูกผลักดันให้ออกมาเพราะปัจจัยทางการเมืองหรือความมั่นคงภายในประเทศ ไม่ว่ารูปแบบใดสิ่งที่ตามมาจะส่งผลกระทบต่อการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าว โดยให้รัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในแต่ละประเทศตระหนักถึงความสำคัญและจำเป็นต้องร่วมมือกันและปรับปรุงกฎระเบียบการค้าเสรีให้เหมาะสมซึ่งจำเป็นที่จะต้องส่งเสริมให้ประชาชนของแต่ละประเทศมององค์ประกอบหรือความเปลี่ยนแปลงในประเทศเพื่อนบ้านอาเซียนลักษณะเป็นมิตร และไม่นำประเด็นความขัดแย้งในประวัติศาสตร์มาเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาความร่วมมือระหว่างกันในอนาคต
Abstract
The purpose of this article is to explain the process of the foreign workers administration to prepare for the ASEAN Economics Community (AEC). According to the cabinet’s resolution in 2007, three nationalities of foreign workers such as Laosian, Cambodian and Burmese have been emphasized in the context of Thai society and the ASEAN Economics Community. There are many factors that encourage the foreign workers to migrate from their countries to work in the other countries such as the economic, political and internal security issues. These migrants will impact the foreign workers administration in host countries. The government and the involving departments in each country have
to cooperate with each other and improve the free trade regulations for developing the foreign workers administration. It is necessary to encourage the people in each country to understand and adjust the changes in the ASEAN neighboring countries friendly. Moreover, the historical conflicts should not be an obstacle to develop the cooperative relations between countries in future.