โครงการศึกษาแนวทางการพัฒนาศักยภาพเพื่อการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งตามแนวทางสันติวิธีของคณะกรรมการเครือข่ายศูนย์ยุติธรรมชุมชนจังหวัดพิษณุโลก The Personnel Potential Development of the Community Justice Center Committee for Conflict Management in Peaceful Ways

Main Article Content

กมเลศ โพธิกนิษฐ Kammales Photikanit

Abstract

          This action research project has two major objectives: 1. To study the needs to develop the potential of the community justice center committee for conflict management in peaceful ways and 2. To organize activities to develop the capacity for conflict resolution in peaceful ways.


          From the research, it was found that 1. the needs are a lacking of knowledge and understanding of community justice mediation, as well as a lack of mediation skills to support the Community Justice Center's work. A community conflict resolution training/practice initiative program was proposed as a result of this.  2. After organizing activity to develop the potential of the community justice center committee through a training program and administering the pre and post-tests, the average scores of community justice center network committees were higher than before the training. Speakers that successfully explain their knowledge, link training subjects and properly completed on schedule received good evaluations from the majority of the trainees. It shows how the training initiative might benefit the community justice center committee's work by enhancement of the knowledge and mediation skills.   According to research, it was suggested that the Ministry of Justice and provincial justice offices should link or integrate academic collaboration and budgeting with the region's higher education institutions. A constant training program was also emphasized.

Article Details

How to Cite
Kammales Photikanit ก. . โ. (2022). โครงการศึกษาแนวทางการพัฒนาศักยภาพเพื่อการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งตามแนวทางสันติวิธีของคณะกรรมการเครือข่ายศูนย์ยุติธรรมชุมชนจังหวัดพิษณุโลก: The Personnel Potential Development of the Community Justice Center Committee for Conflict Management in Peaceful Ways. SOCIAL SCIENCES RESEARCH AND ACADEMIC JOURNAL, 17(3), 113–128. Retrieved from https://so05.tci-thaijo.org/index.php/JSSRA/article/view/258004
Section
Research Articles

References

กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ. (2558). ร่างแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (พ.ศ.2559-2562) กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม. สืบค้นเมื่อ 20 ตุลาคม 2564, จาก http://www.rlpd.go.th/rlpdnew/images/rlpd_6/information_center/information_center_2560/section_9_3/Annual_Plan_4_year59_62.pdf

กองพัฒนายุติธรรมชุมชน สํานักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม. (‎2558). คู่มือประกอบการปฏิบัติงานของเครือข่ายยุติธรรมชุมชน เพื่อการเข้าถึงความยุติธรรมของประชาชน. กรุงเทพฯ: สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม

กิตติพงษ์ กิตยารักษ์ และจุฑารัตน์ เอื้ออำนวย. (2550). ยุติธรรมชุมชน: บทบาทการอำนวยความยุติธรรม โดยชุมชนเพื่อชุมชน. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

ชญานันทน์ ล้อมณีนพรัตน์. (2553). ยุติธรรมชุมชน: ศึกษากรณีการแก้ไขความขัดแย้งทางอาญา ด้วยวิธีการเชิงสมานฉันท์ในระดับชุมชน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณรงค์ ใจหาญ และคณะ. (2552). กระบวนการสร้างความยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ในศาลยุติธรรม (รายงานวิจัย). กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยรพีพัฒนศักดิ์ สำนักงานศาลยุติธรรม.

ณัฏฐณิชา ชวนประเสริฐ. (2558). ปัญหาอุปสรรคของเครือข่ายยุติธรรมชุมชนในการไกล่เกลี่ยระดับข้อพิพาท กรณีศึกษา เจ้าหน้าที่ไกล่เกลี่ยของศูนย์ยุติธรรมชุมชน อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.

ธนยศ ยันตะนะ, นวัสนันท์ วงศ์ประสิทธิ์, ศิริวัฒน์ จิระเดชประไพ, และปกรณ์ มณีปกรณ์. (2561). รูปแบบการบริหารเครือข่ายยุติธรรมชุมชนแบบมีส่วนร่วม. วารสารวิจัยราชภัฏกรุงเก่า, 5(2). 69-76.

เนาวรัตน์ พลายน้อย. (2550). ข้อเสนอต่อการดำเนินโครงการพัฒนาระบบงานยุติธรรมชุมชนระดับจังหวัดในยุติธรรมชุมชน : บทบาทการอํานวยความยุติธรรมโดยชุมชนเพื่อชุมชน (รายงานวิจัย). กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย.

พัชราภรณ์ หลักทอง. (2560). สภาพปัญหาและแนวทางจัดการความขัดแย้งในชุมชนของคณะกรรมการศูนย์ยุติธรรมชุมชน ตำบลหนองหาน อำเภอหนองหาน จังหวัดอุดรธานี. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยบูรพา, ชลบุรี.

วรพล พินิจ. (2560). บทบาทของสำนักงานยุติธรรมจังหวัดกับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่ออำนวยความยุติธรรมในสังคม. วารสารสำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยทักษิณ, 6(2), 41-63.

ศิรินภา ทรัพย์โฮ้. (2559). ปัญหาและอุปสรรคในกระบวนการจัดการความขัดแย้งของศูนย์ยุติธรรมชุมชน กรณีศึกษา ศูนย์ยุติธรรมชุนชนบ้านน้ำทวน ตำบลนาบัว อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก.

สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล. (2562). รายงานสรุปผลจำนวนการจัดตั้งศูนย์ยุติธรรมชุมชนและเครือข่ายยุติธรรมชุมชน กระทรวงยุติธรรม. สืบค้นเมื่อ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 จาก https://data.go.th/DatasetDetail.aspx?id=ab5c65aa-59f2-45b6-bd1d-fb01e86372e3&AspxAutoDetectCookieSupport=1

สุวิช ปนุตติกร. (2555). กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์กับการดำเนินคดีอาญาของศาลเยาวชนและครอบครัว, หลักสูตร “ผู้พิพากษาผู้บริหารในศาลชั้นต้น” รุ่นที่ 10, สถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม สำนักงานศาลยุติธรรม.

อมรเทพ ใหม่มา. (2563). แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานของศูนย์ยุติธรรมชุมชนจังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยรังสิต, กรุงเทพฯ.

อริศราวรรณ สมีดี. (2551). บทบาทของคณะกรรมการศูนย์ยุติธรรมชุมชนในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทโดยสันติวิธี. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น.

อัคคกร ไชยพงษ์ และคณะ. (2561). แนวทางการพัฒนายุติธรรมชุมชนของตำบลหนองโก อำเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น. สุทธิปริทัศน์, 32(103), 203-216.

Cronbach, L.J. (1990). Essentials of psychological testing. (5th ed.). New York: Harper & Row.

Krejcie, R.V. and Morgan, D.W. (1970) Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607-610.

Zehr, H. (1985). Retributive Justice, Restorative Justice: New Perspectives on Crime and Justice. Retrieved October 25, 2021, from https://www.academia.edu/1299660/Retributive_justice_restorative_justice_New_perspectives_in_crime_and_justice