กระบวนการในการศึกษาข้อมูลทางประวัติศาสตร์ สังคม และวัฒนธรรม เพื่อสนับสนุนการพัฒนาชุมชนปากน้ำประแส อำเภอแกลง จังหวัดระยอง The Process of Studying History and Socio - Culture to Support Pak Nam Prasae Community, Rayong Province Development

Main Article Content

Kanjana Laochockchaikul

Abstract

        This research aims to present the process of studying history and socio - culture to support Pak Nam Prasae community, Rayong Province development which focuses on 2 objectives; 1. study, collect and research to find some significant information about Pak Nam Prasae and 2. Manage data and information of Pak Nam Prasae to support community development projects. The researcher conducted filedwork with participatory action research methodology with 22 key informants and used the archaeological community cultural resource management concept.


        The result of this research is Pak Nam Prasae data and knowledge that the researcher and Pak Nam Prasae Community members learned, explored, and gathered stories of social capital and cultural resources in multiple aspects. In addition, activities in each process also contributed to the potential development of community members and concerned staff in every sector. The data not only inspired pride but also raised awareness of historical value and marked the start of development based on community pride and knowledge of history, social, and culture so that the community could genuinely benefit from it and put it into practice in the long-term for sustainable community development.

Article Details

How to Cite
Laochockchaikul, K. (2023). กระบวนการในการศึกษาข้อมูลทางประวัติศาสตร์ สังคม และวัฒนธรรม เพื่อสนับสนุนการพัฒนาชุมชนปากน้ำประแส อำเภอแกลง จังหวัดระยอง: The Process of Studying History and Socio - Culture to Support Pak Nam Prasae Community, Rayong Province Development. SOCIAL SCIENCES RESEARCH AND ACADEMIC JOURNAL, 18(2), 47–60. Retrieved from https://so05.tci-thaijo.org/index.php/JSSRA/article/view/261028
Section
Research Articles

References

จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระฯ. (2470). พระราชหัตถเลขาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อเสด็จประพาสหัวเมืองชายทะเลตะวันออก ในปีมะเมีย พ.ศ. 2425 กับปีมะแม พ.ศ. 2426และปีวอก พ.ศ. 2427 รวม 3 คราว. พระนคร: โสภณพิพรรฒธนากร. (พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวดำรัสสั่งพิมพ์พระราชทานในงารทรงบำเพ็ญพระราชกุศลสัปตมวารพระศพพระปิตุจฉาเจ้า สุขุมาลย์มารศรี พระอัครราชเทวี)

เฉลียว ราชบุรี. (2546). “ประแสเมื่ออดีต” ใน เมืองแกลงของเรา เมืองเก่าบรรพชน. ระยอง: เทศบาลตำบลเมืองแกลง.

พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา เล่ม 2. (2548). (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพมหานคร: สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร.

พระราชพงศาวดารกรุงธนบุรี ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม). (2480). พิมพ์เนื่องในโอกาสงานพระราชทานเพลิงศพ นายพันเอก พระยาสิริจุลเสวก (พัว จุลเสวก) ณ วัดมกุฏกษัตริยาราม วันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2480. พระนคร: โรงพิมพ์เดลิเมล์.

วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดระยอง. (2542). กรุงเทพมหานคร: คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ ในคณะกรรมการอำนวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว.

สายันต์ ไพรชาญจิตร์. (2547). “โบราณคดีชุมชน: แนวทางใหม่ที่เหมาะสมในการจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรมและการพัฒนาชุมชน”. วารสารไทยคดีศึกษา. 1(1), 197-259.

อภิวัฒน์ เศรษฐรักษ์. (2551). ประแสที่แม่เคยอยู่. กรุงเทพมหานคร: รำไทยเพรส.

เอกชัย เนตรมณี และ ธนิต โตอติเทพย์. (2556). ประวัติศาสตร์ชุมชนปากน้ำประแส. เอกสารอัดสำเนา