การพัฒนาทักษะการสร้างสรรค์นวัตกรรมของนักศึกษาครูปฐมวัยที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน A Development of Innovation Creativity Skills of Early Childhood Teacher Students Acquired Activity Based Learning

Main Article Content

ชนาธิป บุบผามาศ Chanatip Bubpamas

Abstract

           The purpose of this research were to 1) study the innovation creativity skills of the early childhood teacher students acquired activity based learning, and 2) study the satisfaction of the early childhood teacher students acquired activity based learning. The participants in this research consisted of 28 students in the program of early childhood, Faculty of education, Phetchaburi rajabhat university. They obtained by using Simple Random Sampling. Research instruments included of three parts: 1) the lesson plans of activity based learning 2) Innovation creativity skills assessment form and 3) early childhood teacher students satisfaction questionnaire. The statistics used for data analysis were mean and standard deviation, respectively.


                The research finding were as follows:  1. The early childhood teacher students acquired activity based learning was the innovation creativity skills in overall was at the high level.  2. The early childhood teacher students acquired activity based learning was the satisfaction in overall was at the highest level.

Article Details

How to Cite
Chanatip Bubpamas ช. . บ. (2023). การพัฒนาทักษะการสร้างสรรค์นวัตกรรมของนักศึกษาครูปฐมวัยที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน: A Development of Innovation Creativity Skills of Early Childhood Teacher Students Acquired Activity Based Learning . SOCIAL SCIENCES RESEARCH AND ACADEMIC JOURNAL, 18(3), 63–78. Retrieved from https://so05.tci-thaijo.org/index.php/JSSRA/article/view/265644
Section
Research Articles

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2562). มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขาครุศาสตร์และสาขาศึกษาศาสตร์ พ.ศ.2562. กระทรวงศึกษาธิการ.

คณะครุศาสตร์. (2564). รายงานการประเมินตนเองปีการศึกษา 2564. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.

จริยา ทองหอม. (2560). การพัฒนาหลักสูตรออนไลน์เพื่อเสริมสร้างทักษะสร้างสรรค์นวัตกรรม. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ: กรุงเทพฯ.

ชนสิทธิ์ สิทธิ์สูงเนิน และ เอกสิทธิ์ ชนินทรภูมิ. (2564). การพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้กิจกรรมเป็นฐานเพื่อส่งเสริมความสามารถในการออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ของนักศึกษาครู คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 11(2), 38 – 48.

ชนสิทธิ์ สิทธิ์สูงเนิน และคณะ. (2565). การจัดการเรียนรู้ด้วยกิจกรรมเป็นฐานร่วมกับเทคโนโลยีเพื่อส่งเสริมความเป็นนวัตกรและผลงานสร้างสรรค์สำหรับนักเรียน. วารสารมนุษยสังคมสาร (มสส.), 20(2), 89 – 110.

ณัฐวุฒิ สกุณี. (2559). การพัฒนาเจตคติ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์และพฤติกรรมการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้การจัดการเรียนการสอนที่เน้นกิจกรรมเป็นฐาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย: กรุงเทพฯ.

เยาวเรศ ภักดีจิตร. (2557). Active Learning กับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. เอกสารประกอบการเสวนาทางวิชาการ วันส่งเสริมวิชาการสู่คุณภาพการเรียนการสอน 30 กรกฎาคม 2557 ณ หอประชุมมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์. 1 – 8.

วันทนา สิงห์นา. (2560). ผลการจัดการเรียนรู้แบบซิปปาเสริมด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ต่อมโนมติลม ฟ้าอากาศของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วารสารวิทยาลัยบัณฑิตเอเชีย, 7(พิเศษ), 82.

วิชัย วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล. (2562). การพัฒนาทักษะสร้างสรรค์นวัตกรรม. ศูนย์ผู้นำนวัตกรรมหลักสูตรและการเรียนรู้.

ศศิธร ลิจันทร์พร. (2556). การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ด้วยกิจกรรมเป็นฐานโดยใช้แอพพลิเคชั่นเพื่อการศึกษาบนอุปกรณ์สื่อสารเคลื่อนที่เพื่อส่งเสริมความมีวินัยของนักเรียนประถมศึกษาตอนปลาย. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย: กรุงเทพฯ.

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2562). ข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ (ฉบับที่ 4) พ.ศ.2562. กระทรวงศึกษาธิการ.

สุพีรา ดาวเรือง. (2555). การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้การเรียนรู้แบบกิจกรรมเป็นฐานและเทคนิคเพื่อนคู่คิดบนวิกิเพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย: กรุงเทพฯ.

เสาวลักษณ์ อนุยันต์. (2563). อนาคตทางการศึกษา: ผลกระทบจากวิกฤติการแพร่ระบาดของไวรัส COVID-19. วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย, 14(2), 14 – 25.

อรชร ปราจันทร์. (2560). รูปแบบการบริหารเพื่อพัฒนาทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของครูใน สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก. มหาวิทยาลัยนเรศวร: พิษณุโลก.

Adams, K. (2006). The Sources of Innovation and Creativity. National Center on Education and Economy.

Anwer, F. (2019). Activity-Based Teaching, Student Motivation and Academic Achievement. Journal of Education and Educational Development, 6(1), 154 – 170.

Horsburgh, D. (1944). Activity-based learning in India. https://thestandard.co/10-phenomenon-in-thailand-society-in-15-years/

Limbu, P. (2012). Why do we need to use activity based learning method? http://eprogressiveportfolio.blogspot.com/2012/06/activity-based-teachingmethod.html

Mcgrath, J. R., and MacEwan, G. (2011). Linking pedagogical practices of activity based teaching. The International Journal of Interdisciplinary Social Sciences, 6, 261-274.

Scott, P. (1970). The process of conceptual change in science. Cornell University.