การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันของการนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไปใช้ในการจัดการการท่องเที่ยวชุมชน Confirmatory Factor Analysis of Management of Tourism Community Model based on Sufficiency Economy Philosophy in Nakornnayok Province

Main Article Content

พัชรินทร์ จึงประวัติ Patcharin Jungpraat
มธุรา สวนศรี Matura Suansri
พิมพิกา ทองรมย์ Pimpika Thongrom

Abstract

              The objectives of the research were 1) to study the potential of tourism villages in Nakhon Nayok; and 2) Confirmatory Factor Analysis of the Management of the Tourism Community Model based on the Sufficiency Economy Philosophy in Nakornnayok Province. The methodology was a mixed method using the semi-structured interview and the questionnaire survey. The number of 60 interviewees were selected by purposive sampling. They were the head of the village who involve in tourism activities following the application of the Sufficiency Economy Philosophy. The questionnaire was distributed using the random number table of the house number in the village of Wat Fung Klong village, Koh Wai SubDistrict, Pak Pli District, Nakhon Nayok Province, and Tung Kraprong village, Pa Kha Sub-District, Banna District, Nakhon Nayok Province. A total number of 140 questionnaires were completed. The data was analyzed using descriptive statistics such as frequency, percentage, mean, standard deviation, and Pearson correlation. The data was further analyzed using the second-order confirmation.


             The results found that the Wat Fung Klong village and Tung Kraprong village village have the potential to develop the application of the efficiency economic philosophy in community-based tourism management. As a result of the availability of natural resources, a culture, a way of life, and wisdom can be developed into a local tourist attraction. The local populace is also prepared to participate in tourism management. The outcomes of individual-level second order confirmatory factor analysis data analysis. The ideology of the sufficiency economy places great importance on managing community tourism, which is given greater weight than social class. The most minor sub-component is my involvement in the transformation of the area into a destination that could attract tourists. The component weights for the societal level were quite similar to those for the individual level. This results from the fact that my community provides a range of Sufficiency Economy–aligned activities.

Article Details

How to Cite
Patcharin Jungpraat พ. . จ., Matura Suansri ม. . ส., & Pimpika Thongrom พ. . ท. (2023). การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันของการนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ไปใช้ในการจัดการการท่องเที่ยวชุมชน: Confirmatory Factor Analysis of Management of Tourism Community Model based on Sufficiency Economy Philosophy in Nakornnayok Province . SOCIAL SCIENCES RESEARCH AND ACADEMIC JOURNAL, 18(3), 153–168. Retrieved from https://so05.tci-thaijo.org/index.php/JSSRA/article/view/266573
Section
Research Articles

References

จิรภัทร เลขะกุล, นิรมล ขวาของ, ดนัย ลิสวัสดิรัตนากุล และ สุดสันต์ สุทธิพิศาล. (2564). การบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและแนวคิดการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์เพื่อการพัฒนาศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยว. วารสารสมาคมนักวิจัย, 26(1), 154-165.

ธง คำเกิด, อุทุมพร เรืองฤทธิ์, เพียงฤทัย เสงี่ยมศิลป์, จิตราภรณ์ เถรวัตร และ ชิดชนก มากจันทร์. (2564). การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนบนฐานรากวิถีชีวิตชุมชนอย่างยั่งยืนของตำบลต้นตาล อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี. (รายงานการวิจัย). สุพรรณบุรี: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุวรรณภูมิ.

ประสพชัย พสุนนท์. (2557). การกำหนดขนาดตัวอย่างตามแนวทาง Krejcie and Morgan (1970) ใน การวิจัยเชิงปริมาณ. วารสารวิชาการศิลปศาสตร์ประยุกต์, 7(2), 112-120.

ปริศนา โลมากุล. (2560). การประยุกต์ใช้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในชีวิตประจำวันของประชาชนในอำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

พจนา สวนศรี และสมภพ ยี่จอหอ. (2556). คู่มือมาตรฐานการท่องเที่ยวโดยชุมชน. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยพายัพ.

พิรพิมพ์ ทั่งพรม. (2563). แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวตามหลกปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอย่างยั่งยืนพื้นที่ชุมชนเลี้ยงช้างบ้านค่ายหมื่นแผ้ว ตำบลบ้านค่าย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ. ใน งานประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 12 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม วันที่9-10 กรกฏาคม 2563, หน้า 2749-2757. นครปฐม: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.

ภณสิทธิ์ อ้นยะ. (2563). ระดับการมีส่วนร่วมของชุมชนที่มีผลต่อความสำเร็จของการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวตามมาตรฐานการท่องเที่ยวไทย. วารสารศิลปศาสตร์ราชมงคลสุวรรณภูมิ, 2(1), 331-340.

วีระพล ทองมา. (2559). แนวคิดการท่องเที่ยวโดยชุมชน: สำหรับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนในเขตที่ดินป่าไม้. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยแม่โจ้.

ศิริชัย กาญจนวาสี. (2554). ทฤษฎีการประเมิน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สมศักดิ์ สามัคคีธรรม. (2564). การท่องเที่ยวโดยชุมชน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาที่ยั่งยืน. วารสารพัฒนาสังคม, 23(1), 211-225.

สุดถนอม ตันเจริญ. (2561). การจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชนกับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของชุมชนบางขันแตก จังหวัดสมุทรสงคราม. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 8(2), 32-41.

สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย. (2560). คู่มือการขับเคลื่อนการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่การปฏิบัติจนเป็นวิถีชีวิต. สืบค้นเมื่อ 16 ตุลาคม 2565, จาก http://km.moi.go.th/km/51_PMQA_6/Important60/Imp_4.pdf

องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะหวาย. (2564). ประวัติความเป็นมา. สืบค้นเมื่อ 20 ตุลาคม 2564, จาก https://www.kowai.go.th/history.php

องค์การบริหารส่วนตำบลป่าขะ. (2564). ข้อมูลชุมชน. สืบค้นเมื่อ 20 ตุลาคม 2564, จาก https://pakha-banna.go.th/public/list/data/index/menu/1168

อลิสา โวหารกล้า และชลธินี อยู่คง. (2558). แนวทางการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวในมิติเศรษฐกิจพอเพียงกรณีศึกษาชุมชนเกาะหาดทรายดำ ตำบลหงาว อำเภอเมือง จังหวัดระนอง.

รายงานการประชุมวิชาการและนำเสนอผลการวิจัย ระดับชาติและนานาชาติ กลุ่มระดับชาติ ด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 2(6), 623-633.

อัญชลี ศรีเกตุ. (2565). การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนสู่วิถีที่ยั่งยืน. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเวสเทิร์นมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 8(2), 270-279.

Osborne, Jason W. and Costello, Anna B. (2004). Sample size and subject to item ratio in principal components analysis. Practical Assessment, Research & Evaluation, 9(9), 1-9.