การวิเคราะห์อภิมานผลของโปรแกรมการพัฒนาวิชาชีพครูที่มีต่อการพัฒนาสมรรถนะ ของครูวิทยาศาสตร์ The Meta-Analysis of the Effect of Professional Development Program on Science Teachers’ Competency

Main Article Content

วิภาวดี แขวงเมฆ Vipavadee Khwaengmek

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ


โปรแกรมการพัฒนาวิชาชีพครูนับว่าเป็นวิธีหนึ่งที่ช่วยเสริมสร้างสมรรถนะให้กับครู ซึ่งโปรแกรม
การพัฒนาวิชาชีพครูนั้นมีหลากหลายวิธี ที่ผ่านมาได้มีงานวิจัยที่ศึกษาการพัฒนาศักยภาพและสมรรถนะของครูวิทยาศาสตร์โดยใช้โปรแกรมพัฒนาวิชาชีพเป็นจำนวนมาก ซึ่งการศึกษาในครั้งนี้จึงได้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหา
ค่าอิทธิพลรวมของงานวิจัย ศึกษาความแปรปรวนของค่าอิทธิพลที่ได้ และศึกษารูปแบบการใช้โปรแกรมการพัฒนาวิชาชีพครูในการพัฒนาสมรรถนะของครูวิทยาศาสตร์ที่ให้ค่าอิทธิพลสูงสุด โดยวิเคราะห์จากวารสารวิจัยนานาชาติจำนวนทั้งสิ้น 23 เรื่อง (ค่าขนาดอิทธิพลจำนวน = 51 ค่า) ผู้วิจัยใช้วิธีการวิเคราะห์อภิมานเพื่อสังเคราะห์งานวิจัย
ที่ผ่านมา ผลการวิจัยพบว่า ค่าอิทธิพลรวม ( Pooled effect size ) ของการวิเคราะห์อภิมานในครั้งนี้ คือ 1.16
(SD = 3.85) และไม่พบว่ามีความแปรปรวนของค่าอิทธิพลจากการศึกษาในครั้งนี้ ซึ่งส่งผลทำให้ไม่สามารถวิเคราะห์ผลไปยังการวิเคราะห์กลุ่มย่อยได้ จากการศึกษาพบว่า งานวิจัยที่มีการใช้รูปแบบการพัฒนาวิชาชีพครูที่มี
การผสมผสานของกลยุทธ์วิธีที่หลากหลายที่มากกว่า 2 วิธีขึ้นไป (Multi-cluster) ส่งผลให้งานวิจัยนั้นมีค่าดัชนีอิทธิพลที่สูงที่สุด และผลการวิเคราะห์อภิมานงานวิจัยในครั้งนี้สามารถสรุปและยืนยันผลได้ด้วยค่าทางสถิติว่า โปรแกรมรูปแบบการพัฒนาวิชาชีพครูส่งผลการต่อการเปลี่ยนแปลงในเชิงบวกและสามารถช่วยพัฒนาสมรรถนะของครูวิทยาศาสตร์ได้ ซึ่งประสิทธิภาพและผลของค่าอิทธิพล (effect size )จะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับบริบท
กลุ่มตัวอย่างประชากรที่ศึกษาและรูปแบบและจำนวนวิธีการที่นำมาใช้ในโปรแกรมเพื่อการพัฒนาวิชาชีพครูนั้น ๆ อีกด้วย


 


 

Article Details

How to Cite
Vipavadee Khwaengmek ว. แ. (2021). การวิเคราะห์อภิมานผลของโปรแกรมการพัฒนาวิชาชีพครูที่มีต่อการพัฒนาสมรรถนะ ของครูวิทยาศาสตร์: The Meta-Analysis of the Effect of Professional Development Program on Science Teachers’ Competency. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์, 16(3), 131–146. สืบค้น จาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/JSSRA/article/view/249072
บท
บทความวิทยานิพนธ์

References

เอกสารอ้างอิง
ชวนคิด มะเสนะ. (2559). การพัฒนาทรัพยากรบุคคลทางการศึกษาในทศวรรษหน้า. วารสารบริหาร
การศึกษาบัวบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. 16(1), 9-16.
เชษฐา งามจรัส.(2552). การประเมินความแตกต่างของผลจากงานวิจัยในการวิเคราะห์เมตา. ศรีนครินทร์เวชาสาร. 24(2), 142-7.
นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2542). การวิเคราะห์อภิมาน (Meta-analysis). กรุงเทพฯ: นิชินแอดเวอร์ไทซิ่งกรุ๊ป.
ศิริยุภา พูลสุวรรณ. (2530). การศึกษาประสิทธิภาพของสื่อการสอนโดยการวิเคราะห์อภิมาน. ปริญญานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต
สาขาการวิจัยและพัฒนาหลักสูตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.(2555). การสังเคราะห์งานวิจัย: หลักการและการประยุกต์ใช้. กรุงเทพฯ: มิสเตอร์ก๊อปปี้ (ประเทศไทยจำกัด)
สุรศักดิ์ เสาแก้ว.(2559). การอ่านและการแปลผลงานวิจัยการวิเคราะห์อภิมาน (Understanding and Interpretation of Meta-Analysis Study). เชียงรายเวชสาร. 8(1), 139-151.
Dalal, M., Archambault, L., & Shelton, C. (2017). Professional development for international
Teachers.Examining TPACK and technology integration decision making. Journal of Research onTechnology in Education, 49(3-4), 117-133.
Donna, J. D., & Hick, S. R. (2017). Developing elementary preservice teacher subject matter
knowledge through the use of educative science curriculum materials. Journal of Science Teacher Education, 28(1), 92-110.
Gess-Newsome, J., Taylor, J. A., Carlson, J., Gardner, A. L., Wilson, C.D., & Stuhlsatz, M. A.
(2019).Teacher pedagogical content knowledge, practice, and student achievement. International Journal of Science Education, 41(7), 944-963.
Hanuscin, D. L., Cisterna, D., & Lipsitz, K. (2018). Elementary teachers’ pedagogical content
knowledge for teaching structure and properties of matter. Journal of Science Teacher Education, 29(8), 665-692.
Harrer, M. & Ebert, D.D (2018). Doing Meta-Analysis in R: A Hands-On Guide.
https://Higgins, J. P., & Thompson, S. G. (2002). Quantifying heterogeneity in a meta‐analysis. Statistics in medicine, 21(11), 1539-1558.
Hudson, P., & Ginns, I. (2007). Developing an instrument to examine preservice
teachers'pedagogical development. Journal of Science Teacher Education, 18(6), 885-899.
Ingersoll, R. M. (1999). The problem of underqualified teachers in American secondary
schools. Educational researcher, 28(2), 26-37.
Joel D. Donna. (2017). Developing elementary preservice teacher subject matter knowledge through the use of educative science curriculum materials. Journal of Science Teacher Education, 28(1), 92-110.
Loucks-Horsley, S., Stiles, K. E., Mundry, S., Love, N., & Hewson, P. W. (2009). Designing
professional development for teachers of science and mathematics. Corwin Press.
Peter Hudson & Ian Ginns (2007)
Tuttle, N., Kaderavek, J. N., Molitor, S., Czerniak, C. M., Johnson-Whitt, E.,Bloomquist, D., ... &
Wilson, G. (2016). Investigating the impact of NGSS-aligned professional development on PreK-3 teachers' science content knowledge and pedagogy. Journal of Science Teacher Education, 27(7), 717-745.
Veenman, S. (1984). Perceived problems of beginning teachers. Review of educational
research, 54(2),143-178.