การวิเคราะห์มนุษย์กับการปกครองในวรรณกรรมพระพุทธศาสนายุคล้านนา

Main Article Content

มานพ นักการเรียน

บทคัดย่อ

พระนางจามเทวีถือว่าเป็นตัวแบบของแนวคิด “ธรรมราชินี” ได้ดำรงอยู่ในทศพิธราชธรรมและได้สั่งสอนข้าราชการและราษฎรทั้งหลายให้ตั้งอยู่ในทศพิธราชธรรมเช่นกัน โดยมีฤาษีวาสุเทพที่เคยบวชเรียนในพระพุทธศาสนามาก่อนแล้วในฐานะเป็นผู้มีบารมีเป็นผู้สร้างเมือง และเป็นผู้ประสานงานช่วยเหลือตั้งแต่เริ่มต้นเป็นการแสดงถึงอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีเหนือกว่าชาวลัวะ ซึ่งเป็นชนพื้นเมืองแถบเชิงดอยสุเทพ

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรมการศาสนา. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับสังคายนา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์การศาสนา, 2530.
พระพุทธพุกามมหาเถระกับพระพุทธญาณเถระ. ตำนานมูลศาสนา. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ศรีปัญญา, 2557.
พระรัตนปัญญาเถระ. ชินกาลมาลีปกรณ์. แปลโดย ศ.แสง มนวิทูร. กรุงเทพมหานคร: พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพนางทองคำ สุวรรนิชกุล, 2515.
พระโพธิรังสี. จามเทวีวงศ์. แปลโดยพระยาปริยัติธรรมธาดา (แพ ตาละลักษณ์) และพระญาณวิชิตร (สิทธิ โรจนานนท์). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ศรีปัญญา, 2554.
พัฒน์ เพ็งผลา. ประวัติวรรณคดีบาลี. ประจวบคีรีขันธ์ : โรงพิมพ์ศูนย์การทหารราบ, 2524.
https://sites.google.com/site/chirapan601/3-bthbath-khxng-sthaban [ออนไลน์] สืบค้นข้อมูลเมื่อวันที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2559