แนวทางการบูรณาการองค์ความรู้ทางศิลปวัฒนธรรมของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ในยุคไทยแลนด์ 4.0
คำสำคัญ:
การจัดการความรู้, บูรณาการ, องค์ความรู้, วัฒนธรรม, ไทยแลนด์ 4.0บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์การวิจัยครั้งนี้เพื่อศึกษาแนวทางการบูรณาการองค์ความรู้ทางศิลปวัฒนธรรมของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ในยุคไทยแลนด์ 4.0 เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยเก็บข้อมูลจากครู อาจารย์ บุคลากรและนักศึกษาของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์จำนวน 120 คนจาก 19 หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการองค์ความรู้ เครื่องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อแนวทางการบูรณาการองค์ความรู้ทางศิลปวัฒนธรรมของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า แนวทางการบูรณาการองค์ความรู้ทางศิลปวัฒนธรรมของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ในยุคไทยแลนด์ 4.0 ที่มีแนวทางการปฏิบัติที่ดีที่สุดอันดับหนึ่ง คือ จัดทำเป็นชุดงานเผยแพร่สู่ชุมชนอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยรวม 4.33 และอันดับสุดท้าย คือ บูรณาการส่งเสริมทำกิจกรรมร่วมกับผู้ป่วยอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยรวม 3.70
References
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. (2562). หมู่บ้านอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (Creative Industry Village: CIV). [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 30 เมษายน 2562. เข้าถึงจาก https://www.dip.go.th/th/news/thumb/2018-06-14-03-26-18
กระทรวงการต่างประเทศ. (2562). โครงการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทยในประเทศญี่ปุ่น. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 15 มิถุนายน 2562. เข้าถึงจาก https://bit.ly/2CqUtj5
กระทรวงวัฒนธรรม กรมส่งเสริมวัฒนธรรม. (2561). ข่าวประชาสัมพันธ์ เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2561. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2562. เข้าถึงจาก https://bit.ly/2ATItGd
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (2562). หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาลุ่มน้ำโขงศึกษา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559). [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 25 กุมภาพันธ์ 2562. เข้าถึงจาก https://bit.ly/305u7LC
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. (2562). หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวัฒนธรรมศึกษาเพื่อการพัฒนา. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 25 กุมภาพันธ์ 2562. เข้าถึงจาก http://hms.snru.ac.th/topics/785
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2562). ศูนย์สถาปัตยกรรมล้านนา. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 25 กุมภาพันธ์ 2562. เข้าถึงจาก https://bit.ly/2Wh3xhw
เจษฎา อานิล. (2562). ภูมิปัญญาไทยกับสุขภาพ : โขน. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 30 มิถุนายน 2562. เข้าถึงจาก https://web.tcdc.or.th/th/Articles/Detail/Craft
ถาวร สิกขโกศล. (2559). เจ้ายุทธจักรดนตรีไทย. กรุงเทพฯ: ศยาม.
เทศบาลตำบลเชิงดอย. (2562). โครงการพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุและพัฒนาคุณภาพชีวิต (โรงเรียนชราบาลวุฒิวิทยาลัย). [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 30 มิถุนายน 2562. เข้าถึงจาก http://www.cheongdoi.go.th/img_update/download/64_353_project1.pdf
ธนาคารยูโอบี จำกัด (มหาชน). (2562). ศิลปะจากผู้พิการทางสายตา สร้างคุณค่าส่งต่อเพื่อสังคม. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 30 มิถุนายน 2562. เข้าถึงจาก https://bit.ly/2OlKUEM
ปัญญา ไข่มุก. (2562). ภูมิปัญญาไทยกับสุขภาพ : โขน. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 30 มิถุนายน 2562. เข้าถึงจาก https://web.tcdc.or.th/th/Articles/Detail/Craft
พิภัช สอนใย. (2559). โน้ตเพลงไทยสำหรับบรรเลงจะเข้. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มูลนิธิสืบสานล้านนา. (2562). โฮงเฮียนสืบสานภูมิปัญญาล้านนา. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2562. เข้าถึงจาก http://lannawisdoms.in.th/
วันกวี สุดใจ. (2552). หนังสือระนาดเอก. กรุงเทพฯ: เอ็มไอเอส.
ศิรานนท์ จิโรชจารุวัฒน์. (2552). หนังสือซออู้. กรุงเทพฯ: เอ็มไอเอส.
สมคิด อเนกทวีผล. (2562). ปั้น “ดินกระดาษ” สู่ของแต่งบ้านหลากหลายกับ 103Paper. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 30 มิถุนายน 2562. เข้าถึงจาก https://bit.ly/38XtTtV
สุวิทย์ วงศ์รุจิราวาณิชย์. (2562). Craft ไทย Craft อย่างไร. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 30 มิถุนายน 2562. เข้าถึงจาก https://web.tcdc.or.th/th/Articles/Detail/Craft
สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (กปร.). (2562). ชุมชนบ้านท่าเรือ. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 30 เมษายน 2562. เข้าถึงจาก https://bit.ly/302Wjie
สำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดสตูล. (2562). โครงการ “ชีวิตสดใส วัยสูงอายุ”. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 30 มิถุนายน 2562. เข้าถึงจาก https://bit.ly/3eoN4Oc
องค์การอนามัยโลก. (2562). การฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการโดยชุมชน แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการโดยชุมชน. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 30 มิถุนายน 2562. เข้าถึงจาก https://bit.ly/2DF6KRD
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สบศ.