แนวทางการเขียนบทความงานสร้างสรรค์ทางศิลปะการแสดง
-
คำสำคัญ:
บทความงานสร้างสรรค์, แนวทาง, ศิลปะการแสดงบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอ 1) แนวทางการเขียนบทความงานสร้างสรรค์ทางศิลปะการแสดง โดยนำเสนอหัวข้อหลัก ชื่อเรื่องบทความ ชื่อผู้เขียน ข้อมูลผู้เขียน บทคัดย่อ คำสำคัญ บทนำ เนื้อเรื่อง บทสรุป เอกสารอ้างอิง และสัมภาษณ์ 2) ชี้แนะกรอบการเขียนโครงสร้างของบทความที่มีลักษณะเฉพาะทางศิลปะของการแสดง 3) นำผลงานสร้างสรรค์ เซิ้งตำหมากหุ่ง มาประกอบคำอธิบาย พร้อมทั้งเน้นขั้นตอนและวิธีคิดประดิษฐ์องค์ประกอบของการแสดงให้ไว้เป็นต้นแบบในการบันทึกผลงานของผู้สืบทอดงานทางศิลปะการแสดงในชุดอื่น ๆ ให้มีความหลากหลาย ได้มีแนวทางพัฒนาตนเองให้ได้เกณฑ์มาตรฐานปรับผลงานสร้างสรรค์ให้เหมาะสมถูกต้องไปตามยุคสมัยที่ควรจะเป็น
References
เกศินี จุฬาวิจิตร. (2552). การเขียนสร้างสรรค์ทางสื่อสิ่งพิมพ์. นครปฐม: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
บริษัทขายเครื่องดนตรีอีสานในโคราช. (ม.ป.ป.). เครื่องวงดนตรีโปงลาง. [ออนไลน์]. ค้นหาเมื่อ 1 มกราคม 2565. เข้าถึงจาก https//www.google.com/search
ปราณี สุรสิทธิ์. (2549). การเขียนสร้างสรรค์เชิงวารสารศาสตร์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.
พจน์มาลย์ สมรรคบุตร. (2538). แนวการคิดประดิษฐ์ท่ารำเซิ้ง. อุดรธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
_______. (2554). โครงการจัดทำตำราและงานวิจัยเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว, เอกสารคำสอน เรื่อง การวิจัยด้านนาฏศิลป์ และการละคร. อุดรธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
มัย ตะติยะ. (2557). ศาสตร์+ศิลป์ การเขียนผลงานทางวิชาการ (ฉบับเต็มร้อย). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วชิรนที วงศ์ศิริอำนวย. (2552). การเขียนบทความ. กรุงเทพฯ: บี เอส ดี การพิมพ์.
สิทธิ์ ธีรสรณ์. (2557). เทคนิคการเขียนบทความวิชาการ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุรพล วิรุฬห์รักษ์. (2547). นาฏยศิลป์ปริทรรศน์ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารพัฒนศิลป์วิชาการ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สบศ.