การบริหารจัดการความรู้ทางศิลปวัฒนธรรมและมรดกทางวัฒนธรรมยุคชีวิตวิถีใหม่

-

ผู้แต่ง

  • รองศาสตราจารย์ ดร.อุดม ชัยทอง ภาควิชาพาราสิต คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • กษมา ประสงค์เจริญ วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นายสัตวแพทย์ วรพัฒน์ ประชาศิลป์ชัย สาขาวิชาคลินิกสัตว์เล็ก ภาควิชาคลินิกสัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่า คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

คำสำคัญ:

การบริหารจัดการความรู้, ศิลปะและวัฒนธรรม, ยุคชีวิตวิถีใหม่

บทคัดย่อ

           กรณีการแพร่ระบาดอย่างรุนแรงของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้ปรากฏผลกระทบต่อประชากรโลกหลายมิติ โดยเฉพาะภาคศิลปวัฒนธรรมที่กำลัง  ประสบกับสถานการณ์ที่ขัดแย้งกันหลายประการ การพัฒนาระบบสารสนเทศระบบดิจิทัล จึงมีเพิ่มมากขึ้น ได้มีการเสนอการศึกษา โดยความคิดริเริ่มในการศึกษาช่วงระยะสั้นต่อผู้มีผลกระทบทางด้านศิลปวัฒนธรรมทุกภาคส่วน นักวิชาการและผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับศิลปวัฒนธรรมต้องร่วมกันระดมความคิดที่เหมาะสม การบริหารจัดการวัฒนธรรมในสถานศึกษา ของวิทยาลัยนาฏศิลป จึงมีการปรับรูปแบบการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมผ่านออนไลน์โดยการถ่ายทอดสด (Live) หรือผ่านแอพพลิเคชั่นต่าง ๆ เพื่อพัฒนาศักยภาพในอนาคตของการบริโภคศิลปวัฒนธรรมอย่างยั่งยืน โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากมุมมองของผู้บริโภค ความเห็นทั้งหลายเหล่านี้เป็นความท้าทายหลักที่จะต้องเผชิญกับเศรษฐกิจมหภาคของศิลปะและวัฒนธรรมในยุคโลกวิกฤตสุขภาพ เพื่อข้อมูลทั้งหลายสามารถยืนยันได้ว่าผู้บริโภคจะเป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญต่อกระบวนการกู้คืนสถานการณ์อันผันแปรของโลกที่มีผลต่อการบริหารจัดการความรู้ทางศิลปวัฒนธรรม และมรดกทางวัฒนธรรมยุคชีวิตวิถีใหม่อย่างยั่งยืนสืบไป

References

กรมควบคุมโรค. (2564). สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มาตรการสาธารณสุขและปัญหาอุปสรรคการป้องกันควบคุมโรคในผู้เดินทาง.[ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 25 ธันวาคม 2564 เข้าถึงจากhttps://ddc.moph.go.th/uploads/files/2017420210820025238.pdf

ศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019. (2565). สถานการณ์ COVIDE-19 ในประเทศไทย. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2565. เข้าถึงจาก https://www.moicovid.com/11/02/2022/uncategorized/6515/

Agostino, D., Arnaboldi, M.,and Lampis, A. (2020). “Italian state museums during the COVID-19 crisis: from onsite closure to online openness”. Museum Management and Curatorship, 35, 4: 362-372.

Cerquetti, M. (2016). More is better! Current issues and challenges for museum audience development: a literature review. Journal of cultural management and policy. [Online]. Retrieved on Mar 28, 2021. from http://www.encatc.org/media/1989-encatc_journal_vol6_issue1.pdf#page=73

Kinichi, A.,and Williams, B. (2009). Management 3/e, The McGraw-Hill international Enterprises, inc.

Laurier Inspiring Lives. (n.d.). How can Geography help us understand the COVID-19 pandemic?. [Online]. Retrieved on January 10, 2022. from https://www.wlu.ca/continuing-education/lall/assets/lectures/how-geography-can-help-us-understand-covid-19.html

Oswald, K. (2017). Regional differences, but a common vision. Goethe-Institut’s International Forum on Cultural Management and Cultural Policy 2016 : Arts Management Network : The Network for Arts Administrators and Experts in the Creative Industries. [Online]. Retrieved on January 10, 2022. From http://artsmanagement.net/index.php?module=News&func=display&sid=1786 [Accessed 28 Mar. 2017].

Paquette, J. (2016). Cultural policy, work and identity 1st ed. London: Routledge.

Poovorawan, Y. (2020). The impact of the COVID-19 outbreaks. [Online]. Retrieved on January 10, 2022. From https://learningcovid.ku.ac.th/course/?c=7&l=2

Radermecker, Anne-Sophie V. (2021). Art and culture in the COVID-19 era: for a consumer-oriented approach. [Online]. Retrieved on January 10, 2022. from https://link.springer.com/article/10.1007/s43546-020-00003-y

Restian, A. (2020). “Freedom of learning in the elementary arts and culture subject the character-based covid-19 pandemic”. Journal for the Interdisciplinary Art and Education. [Online]. Retrieved on January 10, 2022. From https://doi.org/10.29228/jiae.5

Rich, J. and Shekova, E. (2016). “Arts Management in the US and Russia” Pedagogical Aspects. European Scientific Journal, [Online]. Retrieved on January 10, 2022. From http://eujournal.org/index.php/esj/article/download/7398/7126 [Accessed 28 Mar. 2017].

Smith, Z. (2017). “Public Art in Municipal Administration”. The Journal of Arts Management, Law, and Society, 47, 1: 77-81.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-01-27