การส่งเสริมความเข้าใจและพัฒนาทักษะวิชาดนตรีสากลด้วยการประยุกต์ใช้แอปพลิเคชั่นดนตรีในขั้นพื้นฐานและการปฏิบัติ
-
คำสำคัญ:
การส่งเสริมความเข้าใจ, การสอนดนตรีสากล, แอปพลิเคชั่นดนตรีบทคัดย่อ
บทความวิชาการฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ในการนำเสนอการส่งเสริมความเข้าใจ และพัฒนาทักษะวิชาดนตรีสากลด้วยการประยุกต์ใช้แอปพลิเคชั่นดนตรีที่สามารถใช้ในการเรียนการสอนเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้สูงสุด ซึ่งขึ้นอยู่ที่ผู้สอนนั้นทำการพัฒนาแอปพลิเคชั่นต่าง ๆ ประยุกต์ใช้ได้มากน้อยเพียงใด โดยพบว่าเทคโนโลยี เช่น คอมพิวเตอร์พกพา โทรศัพท์มือถือแอปพลิเคชั่นและวิดีโอเกม ช่วยให้ผู้เรียนมีสมาธิหรือจดจ่ออยู่กับเพลง เพิ่มพูนทักษะการฟังและการเล่น ไปจนถึงชื่นชอบ สนใจ หรือซาบซึ้งในบทเพลง และการใช้สื่อประเภทนี้ช่วยเพิ่มทักษะการเล่นดนตรีให้ผู้เรียนโดยตรง แต่สิ่งที่ได้รับจากการใช้งานเทคโนโลยีต่าง ๆ จะเป็นพื้นฐานไปสู่การเล่นดนตรีในอนาคต เทคโนโลยีเป็นสื่อการเรียนรู้ที่มักถูกมองข้าม ทั้งที่เป็นสิ่งที่ใช้ดึงดูดความสนใจของผู้เรียนได้มากสำหรับทุกวัย ดังนั้น สิ่งสำคัญในการส่งเสริมความเข้าใจและพัฒนาทักษะวิชาดนตรีสากลด้วยการประยุกต์ใช้แอปพลิเคชั่นดนตรีในขั้นพื้นฐานและการปฏิบัติช่วยทำให้ผู้เรียนสนใจเนื้อหาดนตรีและมีความสนุกและรู้สึกสนใจจังหวะ ทำนองหรือรูปแบบของเพลงไปด้วย ทำให้วิธีการนี้มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น
References
ณรุทธ์ สุทธจิตต์. (2560). วิธีวิทยาการสอนดนตรี. กรุงเทพมหานคร: พรรณีพริ้นติ้งเซ็นเตอร์.
บรรฑูรณ์ สิงห์ดี. (2558). การวิจัยและพัฒนาสื่อแอพพลิเคชั่นบนแท็บเล็ตระบบปฏิบัติการแอนดรอย รายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมสัมมนาวิชาการนำเสนองานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ เครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 15.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2565). จำนวนประชากรจำแนกตามการใช้คอมพิวเตอร์/อินเทอร์เน็ต/โทรศัพท์มือถือ พ.ศ. 2564. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 10 เมษายน 2565 เข้าถึงจาก http://www.nso.go.th
สุจิตต์ วงษ์เทศ. (2558). ดนตรีไทยมาจากไหน ?. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิทยาลัยดุริยางคศิลป์
Aarsand, P. (2007). “Computer and Video Games in Family Life: The Digital Divide As A Resource in Intergenerational Interactions”. Childhood, 14, 2: 235-256.
Alison, D., & Martin, F. (2013). ISM-The National Curriculum for Music: A Framework for Curriculum, Pedagogy and Assessment in Key Stage 3 Music. London: Incorporated Society of Musicians.
Austin, M. (2016). Music Video Games: Performance, Politics, and Play. New York: Bloomsbury Academic.
Brown, A. (2015). Music Technology and Education: Amplifying Musicality. Brisbane: Griffith University.
Cole, K. (2011). “Brain-Based Research Music Advocacy”. Music Educators Journal, 98, 1: 26-35.
Duckworth, W. (2017). A Creative Approach to Music Fundamentals. 9th ed. Belmont, CA: Schirmer/Thomson Learning.
Elliott, D. (2012). “Music Education For Artistic Citizenship”. Music Educators Journal, 99, 1: 21-28.
Goble, J., S. (2009). Pragmatism, Music's Import, and Music Teachers as Change Agents. Music Education for Changing Times: Guiding Visions For Practice. New York: Springer.
Green, L. (2006). “Popular Music Education In and for Itself, And For ‘Other’ Music: Current Research in The Classroom”. International Journal of Music Education, 24, 2: 101-118.
Harder, P. and Steinke, G. A. (2010). Basic Materials in Music Theory: A Programmed Course. 12th ed. Upper Saddle River, NJ: Pearson.
Hillier, E. (2011). “Demystifying Differentiation for The Elementary Music Classroom”. Music Educators Journal, 97, 4: 49-53.
Lynn, T. A. (2017). Introductory Musicianship. 7thed. San Diego, CA/NewYork, NY: Thomson/Schirmer.
Pamela, D., P. (2011). “Using Technology to Engage Third-Age (Retired) Leisure Learners: A Case Study Of A Third-Age MIDI Piano Ensemble”. International Journal of Music Education. 29, 2: 116-123.
Roesner, D., Paisley, A., & Cassidy, G. (2016). Guitar Heroes in The Classroom: The Creative Potential of Music Games, Music Video Games: Performance, Politics and Play. New York: Bloomsbury Academic.
Rudolph, T., E. (2015). Teaching Music with Technology. Chicago: GIA Publications, Inc.
Wardrobe, K. (2015). Rap My Name: Free Music Lesson Plan. New York: McGraw-Hill.
Williams, B. (2014). We’re Getting Wired, We’re Getting Mobile, What’s Next? Eugene, International Society for Technology in Education. ISTE National Educational Technology Standards.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารพัฒนศิลป์วิชาการ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สบศ.