ครูยุคดิจิทัลสู่การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
-
คำสำคัญ:
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้, การสอนในยุคดิจิทัลบทคัดย่อ
สังคมยุคใหม่เกิดการพัฒนาสู่โลกดิจิทัลอย่างรวดเร็วไร้ขีดจำกัด เกิดวิถีวัฒนธรรมการเรียนรู้สมัยใหม่ ครูนักวิจัยต้องพัฒนาทักษะการสอนในยุคดิจิทัล ซึ่งบทบาทของครูยุคดิจิทัลสู่การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้มีข้อควรพิจารณา 2 ประเด็นหลัก คือ 1) บทบาทครูดิจิทัลด้านการสอนในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ ดังนี้ (1) ด้านการพัฒนาตนเอง เช่น การจัดการเรียนรู้บนฐานดิจิทัลอย่างสร้างสรรค์ (2) ด้านการพัฒนาการเรียนการสอน เช่น การออกแบบเนื้อหาและการเรียนรู้นวัตกรรมสมัยใหม่ 2) บทบาทครูด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล ดังนี้ (1) สมรรถนะวิจัยของครู (2) กระบวนการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้(3) หลักการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาความสามารถด้านการวิจัยสำหรับครู (4) หลักการทำวิจัยในชั้นเรียนยุค Digital Transformation เพื่อพัฒนาการเรียนรู้อย่างยั่งยืน
References
กชพร มั่งประเสริฐ, สิทธิพร ประวัติรุ่งเรือง และขวัญหญิง ศรีประเสริฐภาพ. (2564). แนวทางการพัฒนาสมรรถนะครูยุค Thailand 4.0 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเพชรบุรี. ใน การประชุมนำเสนอผลงานวิจัยบัณฑิตศึกษาระดับชาติ ครั้งที่ 16 (น. 406-417). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรังสิต.
กนกกาญจณ์ น้อยพ่วง. (2565). ครูพันธุ์ใหม่ในสถานการณ์โควิด - 19. ใน รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ครั้งที่ 6 (น. 47-207). วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์.
ชานนท์ คำปิวทา. (2565). รูปแบบการบริหารเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลของครูโรงเรียนมัธยมศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ทิพย์วิมล วังแก้วหิรัญ และศิรินทร มีขอบทอง. (2565). การพัฒนาทักษะที่จำเป็นของครูไทยในยุคดิจิทัล. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา.
ทิศนา แสงระวี และเรชา ชูสุวรรณ. (2565). “ครูไทยกับการจัดการเรียนรู้ในยุค Digital Disruption”. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 9, 4: 13-26.
นันทนัช สุขแก้ว, พร้อมพิไล บัวสุวรรณ และวรรณวิศา สืบนุสรณ์คล้ายจำแลง. (2562). ทักษะครูในยุคดิจิทัลของโรงเรียนสุรศักดิ์มนตรีสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2. ใน การประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัย (Symposium) ระดับบัณฑิตศึกษา ครั้งที่ 12 (น. 70-78). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
นันทิยา น้อยจันทร์. (2565). ครูของครู แนะ "ครูยุคดิจิทัล" ต้องเป็นอย่างไร. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2566. เข้าถึงจาก https://www.komchadluek.net/news/501304
นวพัฒน์ เก็มกาแมน. (2563). แนวทางการพัฒนาการรู้ดิจิทัลสำหรับครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
นิอัลยา สาอุ และไพโรจน์ ภัทรนรากุล (2564) ). การพัฒนาการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล: กรอบสู่ SDGs. วารสารอิเล็กทรอนิกส์การเรียนรู้ทางไกลเชิงนวัตกรรม, 11, 2: 1-11.
ปณุณิฐฐา มาเชค (2565). การบริหารองค์กรทางการศึกษาในยุคดิจิทัล. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
พิชิต ฤทธิ์จรูญ (2561). เทคนิคการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้พิมพ์ (พิมพ์ครั้งที่2). กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เพชราวดี จงประดับเกียรติ (2551). การวิจัยพัฒนาการเรียนรู้. การวิจัยพัฒนาการเรียนรู้คืออะไร. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2566. เข้าถึงจาก http://petcharawadee3.blogspot.com/2008/11/7.html
ภัทราพร ผาสุก, อัจฉรา นิยมาภา และวิสุทธิ์ วิจิตรพัชราภรณ์. (2563). “บทบาทครูในยุคดิจิทัลของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1”. วารสารการบริหารการศึกษาและภาวะผู้นำ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 8, 32: 204-214.
ภัทราวดี มากมี, วิริยะ ผดาศรี, และSeesamai Douangmany. (2558). “ปัจจัยที่ส่งผลต่อความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาในจังหวัดชลบุรีตามการรับรู้ของครูผู้สอน”. วารสารพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต, 9, 2: 49-53.
มาโนช หัทยามาตย. (2564). “คุณลักษณะครูของโรงเรียนในสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงในยุคดิจิทัล”. วารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์, 2, 2: 1-7.
ลดาวัลย์ เจริญศิริ และเตือนใจ ดลประสิทธิ์. (2565). “บทบาทครูในยุคดิจิทัลของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร”. วารสารการวิจัยการบริหารการพัฒนา, 12, 1: 199-207.
วรรณวดี ม้าลำพอง (2557). “การวิจัยกับการพัฒนากระบวนการเรียนรู้”. วารสารวิชาการ, 7, 2: 28-35.
วราพินทร์ ชาววิวัฒน์. (2565). แนวทางการส่งเสริมทักษะดิจิทัลของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 2. การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร.
วิจารณ์ พานิช. (2563). 4 องค์กรการศึกษา ร่วมยกระดับคุณภาพโรงเรียนลดความเหลื่อมล้ำ หวังความมั่นคงระยะยาว. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2566. เข้าถึงจาก https://workpointtoday.com/spill-over-effect
วิชัย วงษ์ใหญ่ และ มารุต พัฒผล (2562). การวิจัยในชั้นเรียน. กรุงเทพฯ: ศูนย์ผู้นำนวัตกรรมหลักสูตรและการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
วัลลยา โคตรนรินทร์ และคณะ (2565). “การวิเคราะห์องค์ประกอบสมรรถนะวิจัยของครูมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ”. วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 28, 1: 282-292.
ศรีสุดา พัฒจันทร์ และ ประเสริฐ เรือนนะการ (2563). “สภาพปัจจุบันและแนวทางการส่งเสริมความสามารถด้านการวิจัยของครูโรงเรียนโสตศึกษาในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ”. วารสารวิทยาลัยราชสุดา, 16, 2: 96-111.
ศศิวิมล ม่วงกล่ำ (2562). การวิเคราะห์องค์ประกอบด้านความสามารถทางดิจิทัลของครูและ บุคลากรทางการศึกษา จังหวัดสระบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2562). แนวปฏิบัติของการสร้างและส่งเสริมการรู้ดิจิทัลสำหรับครู. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.
สุปรียา ไตรยะขันธ์ และรชฏ สุวรรณกูฏ (2565). “สภาพปัญหาและแนวทางพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครูในยุคดิจิทัลสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 1”. วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์, 7, 3: 931-943.
สุภาวดี จันทร์ดิษฐ์, อุรสา พรหมทา และสมบัติ ฤทธิเดช. (2562). “การพัฒนาสมรรถนะครูด้านการวิจัยในชั้นเรียนโดยใช้กระบวนการ PLC โรงเรียนบ้านดงมัน อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม”. วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 6, 2: 111-128.
สุรเชษฐ์ ตรรกโชติ. (2566). ความเป็นครูในยุคดิจิทัล. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2566. เข้าถึงจาก https://www.educathai.com/knowledge/articles/413
สุวิมล ว่องวานิช. (2544). การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อรพงศ์ เทียนเงิน. (2563). Digital Transformation โลกยุคใหม่ที่เทคโนโลยีคือวิถีชีวิต. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2566. เข้าถึงจาก allaroundplastics.com. https://www.allaroundplastics.com/article/innovation/2889
อัจศรา ประเสริฐสิน, พัชรินทร์ แก้วมาเมือง และอารีรัตน์ ลาวน้อย. (2564). “นวัตกรรมทางการศึกษาเพื่อการพัฒนาการเรียนการสอนและการวิจัย”. วารสารวิชาการเครือข่ายบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ, 12, 2: 1-12.
อันธิกา บุญเลิศ. (2564). บทความทางวิชาการ “พลังครูไทยวิถีใหม่ ฉลาดรู้เท่าทันดิจิตอล”. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2566. เข้าถึงจาก https://www.kroobannok.com/board_view.php?b_id=176642&bcat_id=16
Minea-Pic, A. (2020). Innovating Teachers’ Proeessional Learning Through Digtal Technologies. Paris: Organisation for Economic Co-operation and Development.
Wojniusz , S., Rqe, Y. & Hessen, A. (2022). The Digital Transformation of Higher Education Teaching: Four Pedagogical Prescriptions to Move Active Learning Pedagogy Forward. [online]. Retrieved 10 March 2023. From https://www.frontiersin.org/articles/10.3389/feduc.2021.784701/full
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 ฝ่ายผลิตสื่อสิ่งพิมพ์และตำราวิชาการ กองส่งเสริมวิชาการและงานวิจัย สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สบศ.