การพัฒนารูปแบบการสอนตามแนวสะตีมศึกษาสำหรับการเสริมสร้างทักษะความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็ก

Main Article Content

อิสรา พลนงค์
วาสนา กีรติจำเริญ

บทคัดย่อ

       การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการในการพัฒนาทักษะความคิดสร้างสรรค์ให้แก่นักเรียนในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กและ 2) เพื่อพัฒนารูปแบบการสอนตามแนวสะตีมศึกษาสำหรับการเสริมสร้างทักษะความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็ก โดยมีกระบวนการวิจัย 2 ระยะ โดยระยะที่ 1 มีกลุ่มเป้าหมาย คือ ครูในโรงเรียนขนาดเล็กในเขตพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา จำนวน 28 คน และระยะที่ 2 มี กลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้เชี่ยวชาญทางการศึกษา รวมทั้งหมด 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยนี้ คือ แบบสอบถามและแบบประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการสอน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน   ผลการวิจัย พบว่า 1) ครูในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กพบสภาพปัญหาโดยรวมในระดับมาก และมีความต้องการในพัฒนาทักษะความคิดสร้างสรรค์ โดยรวมในระดับมาก  และ 2) รูปแบบการสอนที่พัฒนาขึ้นมี 4 องค์ประกอบ โดยมีขั้นตอนการเรียนการสอน 7 ขั้นตอน และมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research Articles)

References

นพดล กองศิลป์. (2561). การพัฒนาหลักสูตรประถมศึกษาเพื่อการเรียนรู้สู่สากลตามแนวทาง STEAM.
วารสารวิชาการอุตสาหกรรมศึกษา, 12(2), น.49-56.
ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ. (2553). การพัฒนาการคิด (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: 9119 เทคนิคพริ้นติ้ง.
ฟัตมาอัสไวนี ตาเย๊ะ, ณัฐินี โมพันธุ์ และมัฮดี แวดราแม. (2560). ผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะตีมศึกษาที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ ความคิดสร้างสรรค์ และความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. Princess of Naradhiwas University Journal of Humanities and Social Sciences, 4(2), น.1-14.
สมใจ สืบเสาะ และพัลลภ พิริยะสุรวงศ์. (2556). การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบสร้างสรรค์เชิงหรรษาบนเว็บเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต. วารสารวิทยบริการ, 24(3), 181-194.
สิราวรรณ จรัสรวีวัฒน์. (2560). “การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการในยุคประเทศไทย 4.0 ตามแนวคิด STEM, STEAM และ STREAM.” วารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม, 13(1), น. 25-27.
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2559). รายงานของคณะกรรมาธิการขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ เรื่อง “การบริหารจัดการศึกษาโรงเรียนขนาดเล็ก”. สืบค้นเมื่อ 10 มกราคม 2564, from https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parliament
_parcy/download/ usergroup_disaster/5-10.pdf
สำนักวิชาการ. (2558). ปัญหาของโรงเรียนขนาดเล็ก. บทความวิชาการ Hot Issue. สืบค้นจาก https://library2.parliament.go.th/ebook/contentissue/2558/hi2558-106.pdf
Gettings, M. (2016). Putting It all Together: STEAM, PBL, Scientific Method, and the
Studio Habits of Mind. Art Education, 69(4), pp. 10-11.
Honey, M., Pearson, G. and Schweingruber, H. (2014). STEM Integration in K-12 Education: Status, Prospects, and an Agenda for Research. Washington, D.C.: The National Academic Press.
Householder, D. L. and Hailey, C. E. (2012). Incorporating Engineering Design Challenges into STEM
Courses. Retrieved January 10, 2021, from https://files.eric.ed.gov/fulltext/ED537386.pdf
Kang, N-H. (2019). A Review of the Effect of Integrated STEAM or STEAM (Science, Technology, Engineering, Arts, and Mathematics) Education in South Korea. Asia-Pacific Science Education, 5(6), pp. 18-19.
Kelley, T. R. and Knowles, J. G. (2016). A Conceptual Framework for Integrated STEM Education. International Journal of STEM Education, 3(1), p. 11.
Lai, E. R., Yarbro, J., DiCerbo, K. and de Geest, E. (2018). Skills for Today: What We Know about Teaching and Assessing Creativity. London: Pearson.
Massachusetts Department of Elementary and Secondary Education. (2019). Science
and Technology Engineering: Massachusetts Curriculum Framework-2016.
Retrieved January 10, 2021, from https://www.doe.mass.edu/frameworks/scitech/2016-04.pdf
National Center for Engineering and Technology Education. (2012). Infusing Engineering Concepts:
Teaching Engineering Design. Retrieved January 10, 2021, from
https://files.eric.ed.gov/fulltext/ED537384.pdf
National Research Council. (2012). A Framework for K-12 Science Education: Practices,
Crosscutting Concepts, and Core Ideas. Washington, DC: The National Academic Press.
Norris, A. (2014). Make-Her-Spaces as Hybrid Places: Designing and Resisting Self-Constructions
in Urban Classroom. Equity & Excellence in Education, 47, pp. 63-77.
Peppler, K. A. (2013). STEAM-Powered Computing Education: Using E-Textiles to Integrate the Arts
and STEM. IEEE Computer, 46, pp. 38-43.
Sahin, A. (2015). A Practice-Based Model of STEM Teaching: STEM Students on the Stage (SOS)TM.
AW Rotterdam, Netherlands: Sense Publishers.
Sternberg, R. J. (2006). “The Nature of Creativity.” Creativity Research Journal, 18(1), pp. 87-90.
Trilling, B. and Fadel, C. (2009). 21st Century Skills: Learning for Life in Our Times. San Francisco:
Jossey-Bass.
UNESCO. (2020). Educational for Sustainable Development: A Roadmap. Paris, France: UNESCO.
Vossoughi, S., Hooper, P. K. and Escudé, M. (2016). Making through the Lens of Culture and
Power: Toward Transformative Visions for Educational Equity. Harvard Educational Review,
86: pp. 206-232.