สภาพปัญหาด้านบุคลากรในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในภูมิภาคตะวันตก

Main Article Content

ดร. นิภาพรรณ เจนสันติกุล

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้เพื่อศึกษาสภาพปัญหาด้านบุคลากรในสถาบันอุดมศึกษาของรัฐในภูมิภาคตะวันตก เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพทำการสัมภาษณ์พร้อมจดบันทึกข้อมูลและจัดสนทนากลุ่มกับบุคลากรสายวิชาการ บุคลากรสายสนับสนุน  ผู้บริหารของสถาบันอุดมศึกษา เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านกฎหมาย และผู้บริหารหรือเจ้าหน้าที่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในหน่วยงานอื่น พบว่า ส่วนใหญ่มีปัญหาด้านกระบวนการสรรหาและคัดเลือก และการพัฒนาและฝึกอบรม อันเนื่องจากมีปัญหาการเข้าถึงข้อมูล ค่านิยมและทัศนคติของบุคลากร ทางแก้ไขคือต้องมีแนวทางการบริหารและพัฒนาด้วยการปรับปรุงกลไกและระบบการสรรหาและคัดเลือกให้ทันสมัย เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายในรูปแบบแมวมองหรือการจ้างซ้ำ พร้อมกับควรมีการเสริมแรงทางบวกและทางลบ เช่น จัดหลักสูตรการพัฒนาบุคลากรให้สอดคล้องกับตำแหน่งงาน

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กานต์พิชชา เก่งการช่าง. (2556). เจนเนอเรชั่นวายกับความท้าทายใหม่ในการบริหารทรัพยากรบุคคล. วารสารสังคมศาสตร์และศิลปศาสตร์, 2(1), 15-27.

งานประชาสัมพันธ์ กองบริหารงานทั่วไป. (2559). ข่าวมหาวิทยาลัยมหิดล. สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหิดล.

ชาย โพธิสิตา. (2554). ศาสตร์และศิลป์แห่งการวิจัยเชิงคุณภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: อมรินทร์ พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.

ดรุณวรรณ สมใจ. (2551). การบริหารทุนมนุษย์เพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน. วารสารวิชาการสาธารณสุข, 17(4), 684-693.

นิภาพรรณ เจนสันติกุล. (2559). กลไกการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันและการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในมหาวิทยาลัยราชภัฏ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัย หอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 36(1), 196-208.

นิ่มนวล คำปลื้ม. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารทุนมนุษย์กับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในสังกัดงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดราชบุรี. (ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี).

นิสดาร์ก เวชยานนท์. (2559). การบริหารทุนมนุษย์เชิงกลยุทธ์เพื่อเพิ่มมูลค่า. กรุงเทพฯ: เดอะกราฟิโกซิสเต็มส์.

บัลลังก์ โลหิตเสถียร. (2559). ข่าวสำนักงานรัฐมนตรีที่ 385/2559. กลุ่มประชาสัมพันธ์ สำนักงานรัฐมนตรี.

ผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษา. (2559, 13 มิถุนายน). ผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษา จังหวัดเพชรบุรี (บทสัมภาษณ์).

ผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษา. (2559, 3 มิถุนายน). ผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษา จังหวัดเพชรบุรี (บทสัมภาษณ์).

เพชราวลัย ถิระวณัฐพงศ์ และปัญจ์ปพัชรภร บุญพร้อม. (2558). การพัฒนาศักยภาพอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 8(1), 33-40.

ราตรี แสงจันทร์ และวาสิตา บุญสาธร. (2558). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ เพื่อส่งเสริมให้พนักงานเจนเนอเรชั่นวายเกิดความมุ่งมั่นและพลังขับเคลื่อนในการทำงานและรักษาคนเก่งให้คงอยู่กับองค์กร. วารสารการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การ, 7(2), 20-42.

วิยะดา วรานนท์วนิช. (2558). การเตรียมความพร้อมด้านการพัฒนาทุนมนุษย์ของมหาวิทยาลัยเอกชนสู่ประชาคมอาเซียน. วารสารศิลปศาสตรปริทัศน์, 10(19), 88-99.

วีระ อรัญมงคล และรัชฎา ธิโสภา. (2549). รูปแบบการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในสถาบันอุดมศึกษา: กรณีศึกษาสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. วารสารวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม, 2(1), 70-76.

ศรัณย์ พิมพ์ทอง. (2557). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อการคงอยู่ในองค์การของพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการในประเทศไทย. วารสารบริหารธุรกิจ, 37(142), 16-32.

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2551). กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2551-2565). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2556). แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2554). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบเอ็ด (พ.ศ. 2555-2559). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2546). รูปแบบการบริหารจัดการสถาบันอุดมศึกษาแนวใหม่. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

สุรพงษ์ มาลี. (2555). การบริหารและการพัฒนากำลังคนภาครัฐแบบบูรณาการ. วารสารข้าราชการ, 57(1), 20-22.

Garavan, T. N. (2007). A strategic perspective on human resource development Advances in Developing Human Resources, 9(February), 11-30.

Lucia, A. D. & Lepsinger, R. (1999). The art and science of competency models : pinpointing critical success factors in organizations. San Francisco: Jossey- Bass/Pfeiffer.

Nadler, L. (1990). Developing human resource. San Francisco : Jossey-Bass Publisher.

Schmidt, J. C. & Cech, T. R. (2015). Human telomerase: biogenesis, trafficking, recruitment, and activation. Genes Dev, 29(11), 1095-1105.

Serim, H. et al. (2014). The effects of employees’ perceptions of competency models on employability outcomes and organizational citizenship behavior and the moderating role of social exchange in this effect. Procedia - Social and Behavioral Sciences, 150, 1101-1110.