ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อพฤติกรรมทางการเงินของผู้มีงานทำ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของความรอบรู้ทางการเงินเชิงปรนัยและ เชิงอัตนัย รวมถึงการรับรู้ความสามารถของตนเองทางการเงินที่มีต่อพฤติกรรมทางการเงิน โดย สุ่มตัวอย่างจากผู้ที่มีงานทำในระบบประกันสังคมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 512 คน เครื่องมือในการเก็บข้อมูลคือแบบสอบถาม ใช้การวิเคราะห์สมการโครงสร้างเพื่อวิเคราะห์ข้อมูล ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยเชิงสาเหตุที่นำมาใช้ในการศึกษาอธิบายความแปรปรวนของพฤติกรรมทางการเงินของผู้มีงานทำ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้ ร้อยละ 91.3 (R2= 0.913) เรียงลำดับปัจจัยเชิงสาเหตุจากอิทธิพลมากไปหาน้อย ได้แก่ การรับรู้ความสามารถของตนเองทางการเงิน (ß = 0.74) ความรอบรู้ทางการเงินเชิงอัตนัย (ß = 0.14) และ ความรอบรู้ทางการเงินเชิงปรนัย (ß = 0.14) จึงมีข้อเสนอแนะว่ามีความจำเป็นอย่างยิ่งในการส่งเสริมให้ผู้มีงานทำมีความรอบรู้ทางด้านการเงิน และการรับรู้ความสามารถของตนเองทางการเงินให้มากขึ้น เพราะอาจทำให้พฤติกรรมทางการเงินของผู้มีงานทำดียิ่งขึ้น
Article Details
References
Sombutwattana, P. (2011). Causal Model of Controlling Saving Behavior Early Establishment Stage Person in Metropolitan Area. (Phd. Dissertation, Srinakharinwirot University). (In Thai).
2. โสมรัศมิ์จันทรัตน์, อัจจนา ลํ่าซํา, กฤษฎ์เลิศ สัมพันธารักษ์, และภูมิใจ ตั้งสวัสดิรัตน์ (2560). มุมมองใหม่หนี้ครัวเรือนไทย ผ่าน Big Data ของเครดิตบูโร. สืบค้น 21 ตุลาคม 2561,
จาก https://www.pier.or.th/?post_type=abridged&p=4497
Chantarat, S., Lamsam, A., Samphantharak, K. and Tangsawasdirat, B. (2017). Thailand’s Household Debt through the Lens of Credit Bureau Data: Debt and Delinquency. Finding 21th October 2018 Retrieved from https://www.pier.or.th/?post_type=abridged&p=4497. (In Thai)
3.อรุณี นุสิทธิ์. (2557). ปัจจัยอธิบายความเพียงพอจากการออมเพื่อการเตรียมเกษียณของผู้มีงานทำในประเทศไทย. วารสารบริหารธุรกิจคณะพาณิชศาสตร์และการบัญชี,มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 37(114), 39-52.
Nusith, A. (2014). Factors Explaining Retirement Saving Adequacy for Employees in Thailand. Thammasat Business Journal ,Thammasat University, 37(114),
p.39-52. (In thai).
4.Dew, J., Xiao, J.J. (2011).The Financial Management Behavior Scale: Development and Validation. ,Journal of Financial Counseling and Planning, 22(1), 43-59.
5.Farrell, L., Fry, T., and Rise, L. (2016). The significance of financial self-efficacy in explaining women’s personal finance behavior. Journal of Economic Psychology, 54, 85-99.
6.Huston, S. J. (2010). Measuring financial literacy. The Journal of Consumer Affairs, 44, 296–316.
7.Lown, (2011). Development and Validation of a Financial Self-Efficacy Scale, .Journal Of Financial Counseling and Planning, 22(2), 54-63. Retrieved from http://ssrn.com/abstract=2006665
8.Lusardi, A. and Tufano, P. (2009). Debt Literacy, Financial Experiences, and Over indebtedness, NBER Working Paper n.14808.
9.Tang, N. and Baker, A. (2016). Self –Esteem, Financial Knowledge and Financial Behavior, Journal of Economic Psychology, 54, 164-176.
10.Van Rooij, M., A. Lusardi, and R. Alessie. 2011. Financial literacy, retirement planning and household wealth. NBER Working Paper n.17339.