ประเทศไทยกับความพร้อมในการเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล

Main Article Content

เบญจมาภรณ์ ชำนาญฉา

บทคัดย่อ

อุตสาหกรรมไมซ์มีบทบาทที่สำคัญในด้านเศรษฐกิจควบคู่ไปกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว การท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัลเป็นหนึ่งในธุรกิจของอุตสาหกรรมไมซ์ที่มีแนวโน้มการเติบโตเพิ่มสูงขึ้นทั้งในด้านรายได้และจำนวนนักท่องเที่ยว นักท่องเที่ยวในรูปแบบไมซ์ส่วนใหญ่เดินทางมาประชุม สัมมนา งานนิทรรศการ และใช้เวลาส่วนหนึ่งไปกับการท่องเที่ยวตามสถานที่ต่างๆ บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอ การท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัลในบริบทประเทศไทย ได้แก่ 1) แนวคิดการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล 2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการจัดการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล 3) ศักยภาพของการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล 4) ความพร้อมของประเทศไทยในการจัดการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล โดยศึกษาผ่านการทบทวนวรรณกรรมจากแหล่งต่าง ๆ เพื่อเป็นประโยชน์สำหรับการนำข้อมูลไปประยุกต์ใช้ในด้านการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัลและเป็นการเตรียมความพร้อมของประเทศไทยในการเป็นศูนย์กลางการจัดการการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล

Article Details

How to Cite
ชำนาญฉา เ. . (2020). ประเทศไทยกับความพร้อมในการเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล. วารสารวิชาการเซาธ์อีสท์บางกอก (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 7(1), 100–114. https://doi.org/10.14456/sb-journal.2021.8
บท
บทความวิชาการ

References

กรุงเทพธุรกิจ. (2562). ธุรกิจไมซ์ปี 2561ไทยโตเกินเป้าสร้างรายได้กว่า 212,924 ล้านบาท สืบค้น 20 พฤษภาคม 2562, จาก http://www.bangkokbiznews.com/news/detail/818296

ฐาปนา บุณยวิจิตร. (2562). ไมซ์กับการออกแบบผังเมือง. สืนค้น 26 มิถุนายน 2562, จากhttp://tatp.or.th/mice-city-design/

บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2548). อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ: เพรช แอนด์ ดีไซน์.

ฝ่ายการตลาดและภาพลักษณ์องค์กร. (2560). ทิศทางกลยุทธ์ไมซ์ไทยประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560. กรุงเทพฯ: สำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ.

ฝ่ายพัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรมไมซ์. (2561). การพัฒนามาตรฐานอุตสาหกรรมไมซ์. กรุงเทพฯ:สำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ.

สำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ. (2560). รายงานงบประมาณประจำปี พ.ศ.2560.กรุงเทพฯ: สำนักงานส่งเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ.

Ahn, Y. J., Hyun, S. S., & Kim, I. (2016). City residents’ perception of MICE city brand orientation and their brand citizenship behavior: A case study of Busan, South Korea. Asia Pacific Journal of Tourism Research, 21(3), 328-353.

Bordelon, B.M., & Ortiz, M. (2015). An exploratory study of the Destination Management Company (DMC): Building a profile. Travel and Tourism Research Association : Advancing Tourism Research Globally. In 2015 TTRA international conference. Retrieved May 15, 2019, from https://scholarworks.umass.edu/cgi/viewcontent.cgi?article=1100&context=ttra

Crouch, G. I., & Ritchie, J. B. (1999). Tourism, competitiveness, and societal prosperity. Journal of business research, 44(3), 137-152.

Incentive research foundation. (2019). IRF Webinar : The IRF wellness in meetings and incentive travel study. Retrieved May 15, 2019, from https://theirf.org/research/irf-webinar-the-irf-wellness-in-meetings-and-incentive-travel-study/2639/

Mair, J. (2015). Incentive travel : A theoretical perspective. Event Management, 19(4), 543-552.

Marketeer team. (2561). รู้จัก“ตลาดไมซ์” ที่ปีนี้มีมูลค่าทะลุ 2 แสนล้านบาท. สืบค้น 18พฤษภาคม 2562, จาก https://marketeeronline.co/archives/82392

Payne, S. C., Cook, A. L., Horner, M. T., Shaub, M. K., Boswell, W. R., & Ozias, A. (2010). The relative influence of total rewards elements on attraction, motivation and retention. WorldatWork Journal, 20(1), 6-21.

Thailand Convention and Exhibition Bureau. (2016). Introduction to MICE industry. Bangkok: Thailand Convention and exhibition Bureau.

Thailand Convention and Exhibition Bureau. (2018). Thailand MICE posts 13% growth with signals of strong market confidence. Retrieved May 15, 2019, from https://www.prnewswire.com/news-releases/thailand-mice-posts-gains-300671379.html