กลยุทธ์การใช้สื่อและสารของการแสดงพื้นบ้านเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชน: กรณีศึกษารำโทนนกพิทิด

Main Article Content

เมธาวี จำเนียร
ทองพูล มุขรักษ์

บทคัดย่อ

ในเชิงการท่องเที่ยว การสื่อสารทำหน้าที่ให้ข้อมูลที่ถูกต้องและสร้างความน่าสนใจดึงดูดนักท่องเที่ยวให้เข้ามาเยือนสถานที่ท่องเที่ยว อย่างไรก็ตาม การสื่อสารของการท่องเที่ยวควรดำเนินการวางแผนอย่างมีกลยุทธ์โดยเฉพาะกลยุทธ์การใช้สื่อและการสร้างสรรค์เนื้อหา บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอการใช้กลยุทธ์การใช้สื่อและเนื้อหาเพื่อสื่อสารการแสดงพื้นบ้านในชุมชน ที่จะช่วยส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชน โดยใช้สื่อการแสดงพื้นบ้านรำโทนนกพิทิด ซึ่งเป็นการแสดงพื้นบ้านของตำบลกรุงชิง อำเภอนบพิตำ จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นกรณีศึกษา โดยแสดงให้เห็นกลยุทธ์การใช้สื่อต่าง ๆ และเนื้อหาในการสื่อสารไปยังนักท่องเที่ยว ได้แก่ สื่อการแสดงพื้นบ้านรำโทนนกพิทิดควรสื่อสารไปในรูปแบบอื่น ๆ ด้วย ได้แก่ สื่อกิจกรรมท่องเที่ยว สื่อวัตถุหรือผลิตภัณฑ์ชุมชนของที่ระลึก ผ่านการใช้สื่อบุคคล สื่อชุมชน สื่อมวลชน และสื่อใหม่ โดยนำเสนอเนื้อหา (Story) เกี่ยวกับอัตลักษณ์ของรำโทนนกพิทิด ที่เป็นเอกลักษณ์และแตกต่างจากที่อื่น ตรงกับความต้องการของตลาดผู้บริโภค การสร้างเสริมคุณค่า (value) และการมอบคุณค่าด้วยผลิตภัณฑ์ที่มีความจำเพาะเจาะจงโดยการเชื่อมคุณค่าของความดั้งเดิมและความทันสมัยเข้าด้วยกันอย่างกลมกลืน  

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

Benjarongkij, Y. (2011). Kānwāngphǣn læ kānpramœ̄nphon kānsư̄sān chœ̄ngkon yut [Planning and evaluation for strategic communication]. Bangkok: Chulalongkron University.

ยุบล เบ็ญจรงค์กิจ. (2554). การวางแผนและการประเมินผลการสื่อสารเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Boonsatorn, W. (2020). Kānsư̄sān chœ̄ngkon yut. [Strategic communication]. Bangkok: Chulalongkron University.

วาสิตา บุญสาธร. (2563). การสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Dangi, T., B. & Jamal, T. (2016). An Integrated Approach to “Sustainable Community-Based Tourism. Retrieved from doi:10.3390/su8050475

Designated Areas for Sustainable Tourism Administration (Public Organization). (2015). Thō̜ngthīeo dōi chumchon. [Community-based Tourism]. Bangkok: Cocoon & co company limited.

องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน). (2558). ท่องเที่ยวโดยชุมชน (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: โคคูน แอนด์ โค จำกัด.

Hajra, V. (2015). Role of Indian Folk Culture in Promotion of Tourism in the Country. Paripex-Indian Journal of Research, 4(2), 231-235. Retrieved from http://citeseerx.ist.psu.edu/viewdoc/download?doi=10.1.1.684.2559&rep=rep1&type=pdf

Jaichansukkit, P. (2020). Good Brand & Good Image pan brǣn hit hai tittalāt (2 nd Edition). [Good Brand & Good Image, Promoted Brand Image to be the Top in Marketing]. Bangkok: Expert Communication.

พจน์ ใจชาญสุขกิจ. (2563). Good Brand & Good Image ปั้นแบรนด์ฮิต ให้ติดตลาด (พิมพ์ครั้งที่ 2 แก้ไขเพิ่มเติม). กรุงเทพฯ: เอ็กซ์เพิร์ท คอมมิวนิเคชั่นส์.

Laongpliu, C. (2019). Kānthō̜ngthīeo mư̄ang rō̜ng : thāng lư̄ak lǣng thō̜ngthīeo chœ̄ng sāngsan čhangwat Rātchaburī. [Secondary City Tourism : Alternative of Creative Attraction in Ratchaburi Province]. Inthaninthaksin journal Thaksin University, 14(2), 39-60.

จิตคุปต์ ละอองปลิว. (2562). การท่องเที่ยวเมืองรอง: ทางเลือกแหล่งท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ จังหวัดราชบุรี. วารสารอินทนิลทักษิณสาร มหาวิทยาลัยทักษิณ, 14(2), 39-60.

Manyozo. (2012). Media, communication and development: Three approaches. New Delhi: Vivek Mehra for Sage Publications India Pvt Ltd.

Nawakanworrakul, S. and Suepakdee, D. (2021). Nǣothāng kānphatthanā kānčhatkān kānthō̜ngthīeo chœ̄ng watthanatham khō̜ng mư̄ang kao Songkhlā fang bō̜yāng. [The Development Guidelines of Cultural Tourism Management in Songkhla Old Town, Bo Yang]. Narkbhutparitat Journal, Nakhon Si Thammarat Rajabhat University, 13(1), 80-98.

ศราวัสดี นวกัณห์วรกุล และดวงเงิน ซื่อภักดี. (2564). แนวทางการพัฒนาการจัดการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของเมืองเก่าสงขลาฝั่งบ่อยาง. วารสารนาคบุตรปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช, 13(1), 80-98.

Nedpogaeo, A. (2018). Sư̄ sāt Mediumology. [Mediumology]. Bangkok: Nakorn Publishing.

อัศวิน เนตรโพธิ์แก้ว. (2561). สื่อศาสตร์ Mediumology. กรุงเทพฯ: นาคร.

Pongkittiwiboon, S. (2017). Nūai thī 8 nai ʻēkkasān kānsō̜n chut wichākān wāngphǣn kānʻō̜kbǣp læ kānphalit sư̄ chumchon nūai thī 5-8. [Unit 8 : Planning, Design and Production for Community Media, Unit 5-8]. Nonthaburi: Sukhithai Thammathirat University.

สุชาดา พงศ์กิตติบูลย์. (2560). หน่วยที่ 8 ใน เอกสารการสอนชุดวิชาการวางแผน การออกแบบ และการผลิตสื่อชุมชน หน่วยที่ 5-8. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

Sillapasert, N. (2017). ʻUtsāhakam kānthō̜ngthīeo (7th Edition). [Tourism Industry]. Bangkok: Chulalongkorn University.

นิศศา ศิลปะเสริฐ. (2560). อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Sukothaithammathirat University. (n.d.). Khrư̄angmư̄ nai kānprachāsamphan. [Instruments for Public Relations]. Retrieved from http://www.stou.ac.th/stouonline/lom/data/sms/market/Unit8/SUBM2/U821-1.htm.

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (ม.ป.ป.) เครื่องมือในการประชาสัมพันธ์. สืบค้น 15 พฤษภาคม 2564, จาก

http://www.stou.ac.th/stouonline/lom/data/sms/market/Unit8/SUBM2/U821-1.htm.

Thammasena, A. (2017). Nūai thī 10 nai ʻēkkasān kānsō̜n chut wichākān wāngphǣn kānʻō̜kbǣp læ kānphalit sư̄ chumchon nūai thī 9-15. [Unit 10 : Planning, Design and Production for Community Media, Unit 9-15]. Nonthaburi: Sukhithai Thammathirat University.

อภินันท์ ธรรมเสนา. (2560). หน่วยที่ 10 ใน เอกสารการสอนชุดวิชาการวางแผน การออกแบบ และการผลิตสื่อชุมชน หน่วยที่ 9-15. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

Tourism Authority of Thailand. (2019). Khūmư̄ phatthanā sakkayaphāp bukkhalākō̜n dān kānthō̜ngthīeo nai chumchon. [A guide to develop personnel potential in Community-based Tourism]. Bangkok: Party Boom.

กรมการท่องเที่ยว. (2562). คู่มือพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการท่องเที่ยวในชุมชน. กรุงเทพฯ: ปารตี้ บูม.

Wang, M. (2021). The Realization Way of the Fusion Development of Folk Art and Tourism. Frontiers in Art Research, 3(3), 10-14. Retrieved from DOI: 10.25236/FAR.2021.030303