ต้นทุนและผลตอบแทนของการสานกระติบข้าวบ้านสบจาง ตำบลนาสัก อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง

Main Article Content

อนงค์วรรณ อุประดิษฐ์
จิรนันท์ บุพพัณหสมัย
วราพร กลิ่นประสาท

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนของการสานกระติบข้าวบ้านสบจาง ตำบลนาสัก อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง และ 2) วิเคราะห์โครงสร้างต้นทุน และผลตอบแทนของการสานกระติบข้าวบ้านสบจาง ตำบลนาสัก อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพซึ่งทำการรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มจักสานบ้านสบจาง ตำบลนาสัก อำเภอแม่เมาะจังหวัดลำปาง จำนวน 15 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง ใชวิธีทางสถิติเชิงพรรณนาโดยวิเคราะห์ต้นทุน รายได้จากการจำหน่าย กำไรขั้นต้นและจุดคุ้มทุน ผลการศึกษา พบว่า ต้นทุนของการทำกระติบข้าวต่อหน่วยเท่ากับ 111.23 บาท ประกอบด้วย วัตถุดิบ 5.53 บาทต่อหน่วย คิดเป็นร้อยละ 4.97 ค่าแรงงาน 105 บาทต่อหน่วย คิดเป็นร้อยละ 94.40 ค่าใช้จ่ายการผลิต 0.70 บาทต่อหน่วย คิดเป็นร้อยละ 0.63 โดยรายได้จากการจำหน่ายต่อวัน 450 บาท มีต้นทุนการทำต่อวัน 333.69 บาท คิดเป็นกำไรขั้นต้นจากการจำหน่ายต่อวัน 116.31 บาท มีจุดคุ้มทุนต่อวัน 7.98 บาท รายได้จากการจำหน่ายกระติบข้าวต่อเดือน 13,500 บาท มีต้นทุนการทำต่อเดือน 10,010.70 บาท คิดเป็นกำไรขั้นต้นจากการจำหน่ายต่อเดือน 3,489.30 บาท มีจุดคุ้มทุนต่อเดือน 239.42 บาท และรายได้จากการจำหน่ายกระติบข้าวต่อปี 40,500บาท มีต้นทุนการทำต่อปี 30,032.10 บาท คิดเป็นกำไรขั้นต้นจากการจำหน่ายต่อปี เท่ากับ 10,467.90 บาท มีจุดคุ้มทุนต่อปี 718.27 บาท

Article Details

How to Cite
อุประดิษฐ์ อ. ., บุพพัณหสมัย จ. ., & กลิ่นประสาท ว. . (2022). ต้นทุนและผลตอบแทนของการสานกระติบข้าวบ้านสบจาง ตำบลนาสัก อำเภอแม่เมาะ จังหวัดลำปาง. วารสารวิชาการเซาธ์อีสท์บางกอก (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 8(2), 36–50. https://doi.org/10.14456/sb-journal.2022.13
บท
บทความวิจัย

References

Chongpitaksakun, N. and Pho-ngoen, D. (2020). Kān wikhro̜ tonthun læ kānkamnot rākhā phalittaphan chumchon khō̜ng klum bānkhlō̜ng sāi : tambon khlō̜ng čhik ʻamphœ̄ bāng pa ʻin čhangwat Phra Nakhō̜n Sī ʻAyutthayā . [The Analysis of Product Cost and Product Pricing of Baan Khlong Sai Community Product, Khlong Chik Sub-district, Bang Pa-in District, Phra Nakhon Si Ayutthaya]. Journal of Legal Entity Management and Local Innovation, 6(5), 141-153.

ณัฏฐ์พล จงพิทักษ์สกุล และ ดวงรัตน์ โพธิ์เงิน. (2563). การวิเคราะห์ต้นทุนและการกำหนดราคาผลิตภัณฑ์ชุมชนของกลุ่มบ้านคลองทราย:ตำบลคลองจิก อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น. 6(5), 147-152.

Makcharoen, L. (2017). Kān banchī tonthun. [Cost Accounting]. Bangkok, Thailand:

Triple Education Co.Ltd.

ลำใย มากเจริญ. (2560). การบัญชีต้นทุน. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ทริปเพิ้ลเอ็ดดูเคชั่น จำกัด.

Maeta Distric Agricultural Office. (2021). Nǣothāng phatthanā wisāhakit bān nō̜ng yāng khlai tambon thung lūang čhangwat Lamphūn. [Approaches to develop Nongyangkrai Community Enterprise Tumbon Tatungluang Ampher Maetha Lamphun Province]. Retrieved August 26, 2021, from http://www.research.doae.go.th/webphp/projectres/filepdf/lumpoon52.pd

สำนักงานเกษตรอำเภอแม่ทา. (2564). แนวทางพัฒนาวิสาหกิจบ้านหนองยางไคล ตำบลทุ่งหลวง จังหวัดลำพูน. สืบค้น 26 ส.ค. 64 จาก

http://www.research.doae.go.th/webphp/projectres/filepdf/lumpoon52.pdf.

Nachan, S., Hiransalee, P., Thongbunchoo, J., Pumiviset, W. and Damchu, L. (2019). Tonthun læ phontō̜pthǣn nai kānlongthun khō̜ng klum hatthakam bān chumphō̜ tambon ko̜ tǣo ʻAmphœ̄ Mư̄ang čhangwat Songkhlā . [Cost and return on investment from handicraft Ban Chumpor Group, Tambol Ko Taeo, Mueang, Songhla]. In Proceeding of The 2nd National Conference on Humanities and Social Sciences, Humanities and Social Sciences social innovation, Songkhla Rajabhat University. 923-939.

สุพะยอม นาจันทร์ ปทุมพร หิรัญสาลี จุไรรัตน์ ทองบุญชู วรกร ภูมิวิเศษ และลักขณา ดำชู. (2561). ต้นทุนและผลตอบแทนในการลงทุนของกลุ่มหัตถกรรมบ้านชุมพอ ตำบลเกาะแต้ว อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา, น.923-939 ในการประชุมวิชาการด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ 2. มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.

Nammakuna, C., Suksard, Santi. and Hoamuangkaew, W.. (2009). Kānphalit læ kāntalāt khō̜ng phalittaphan čhāk mai phai nai čhangwat Lampāng. [Production and marketing of bamboo products in Lampang province]. Thai Journal of Forestry, 28(2), 39-47.

ชาลิตา นามมะกุนา สันติ สุขสอาด และ วุฒิพล หัวเมืองแก้ว. (2552). การผลิตและการตลาดของผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่ในจังหวัดลำปาง. วารสารวนศาสตร์. 28(2), 39-47

Orapin, D. (2014). Kān banchī kānngœ̄n. [Financial accounting]. Bangkok, Thailand: Chulalongkorn University Press.

ดวงสมร อรพินท์. (2557). การบัญชีการเงิน. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Phengchan, S. (2021). Khrư̄ang čhaksān nai prathēt Thai. [Basketwork in Thailand]. Retrieved June 30, 2021, from http://www.thaigoodview.com/node/201930.

สมปอง เพ็งจันทร์. (2564). เครื่องจักสานในประเทศไทย. สืบค้น 30 มิ.ย.64 จาก http://www.thaigoodview.com/node/201930.

Raorat, K. (2021). Phai khwāmlāklāi nai withī chumchon. [Bamboo Diversity in the way of the community]. Retrieved June 18, 2021, from https://www.hrdi.or.th/Articles/Detail/21.

กมลทิพย์ เรารัตน์. (2564). ไผ่ความหลากหลายในวิถีชุมชน. สืบค้น 18 มิ.ย. 64 จาก https://www.hrdi.or.th/Articles/Detail/21.

Srimaitree, M. and Chunhapinyokul, N.. (2017). kānphatthanā kitčhakam thāngkān talāt samrap phalittaphan hūat nưng khāo ʻatchariya khō̜ng klum wisāhakit chumchon čhaksān chœ̄ng nawattakam. [Development ofMarketing Activities for Genius Rice Steamer of Innovative Woven Community Enterprise]. Journal of Community Development and Life Quality, 5(2), 215 –225.

มาลิณี ศรีไมตรี และ นิภา ชุณหภิญโญกุล. (2560). การพัฒนากิจกรรมทางการตลาดสำหรับผลิตภัณฑ์หวดนึ่งข้าวอัจฉริยะของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนจักสานเชิงนวัตกรรม. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต. 5(2), 215 –225.

Thai Junior Encyclopedia Foundation. (2021). Khrư̄ang čhaksān phāk nư̄a. [Northern basketry].Retrieved August 22, 2021, from https://www.saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=22&chap.

มูลนิธิสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน. (2564). เครื่องจักสานภาคเหนือ. สืบค้น 26 ส.ค. 64 จาก

https://www.saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=22&chap

Wangtichob, P. and Jongruk, S. (2021). kānchai khō̜mūn thāngkān banchī phư̄a kānbō̜rihān ngān khō̜ng klum phū phalitphalit phan chumchon kō̜ranī sưksā klum čhaksān phaktopchawā bān kūp tambon han sang ʻamphœ̄ bāng pa han čhangwat Phra Nakhō̜n Sī ʻAyutthayā. [Use of accounting information for administration of community product manufacturers case study of water hyacinth weave group at Ban Kub, Han Sang Sub-District, Bang Pahan District, Phra Nakhon Si Ayutthaya Province]. Journal of MCU Social Science Review, 10(3), 122-130.

เพ็ญนภา หวังที่ชอบ และ สุภลัคน์ จงรักษ์. (2564). การใช้ข้อมูลทางการบัญชีเพื่อการบริหารงานของกลุ่มผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ชุมชน กรณีศึกษา กลุ่มจักสานผักตบชวาบ้านกูบ ตำบลหันสัง อำเภอบางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. 10(3), 122-130.