การพัฒนาทักษะการสื่อสารระหว่างบุคคลของนักศึกษาวิชาเอกธุรกิจชั้นปีที่ 2 คณะศิลปศาสตร์ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ด้วยการแสดงและการวาดภาพ

Main Article Content

อัมพร ศรีเสริมโภค
Maricel Nacpil Paras

บทคัดย่อ

 งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารระหว่างบุคคลให้กับนักศึกษาวิชาเอกภาษาอังกฤษธุรกิจชั้นปีที่ 2 คณะศิลปศาสตร์ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ปีการศึกษา 2562 โดยการบูรณาการการวาดภาพและการแสดงละครมาเป็นกิจกรรมหลักในการเรียน ประชากรกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยนักศึกษาจำนวน 14 คน เป็นชาย 6 คน และ หญิง 8 คน อายุระหว่าง 19-23 ปี โดยการทดลองใช้เวลา 12 สัปดาห์ เริ่มตั้งแต่วันที่5พฤศจิกายน 2562 ถึงวันที่12 กุมภาพันธ์ 2563 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแบบทดสอบก่อนและหลังการทดลองแบบฝึกหัดการนำเสนอของผู้เรียนตลอดจนการแสดงความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างต่อกิจกรรมการเรียนการสอน การวิจัยนี้เป็นการผสมผสานระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ผลการวิจัยพบว่านักศึกษาทุกคนมีพัฒนาการในการสื่อสารระหว่างบุคคลที่ดีขึ้นรวมทั้งมีความมั่นใจในการสื่อสารภาษาอังกฤษได้อย่างสร้างสรรค์และมีประสิทธิภาพตลอดจนมีทัศคติเชิงบวกที่สร้างความมั่นใจในการพัฒนาทักษะสื่อสารภาษาอังกฤษได้อย่างเป็นรูปธรรม สรุปได้ว่าการประยุกต์ใช้การแสดงและการวาดภาพในการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษระหว่างบุคคลได้ดีขึ้น

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Aliabari,M., & Jamalvandi,B. (2010). Impact of Role-Play on Fostering EFL learners’Speaking Ability: A Task-Based Approach. Pan-Pacific Association of Applied Linguistics, 14(1), 15-29.

Cook,v. (2001). Second Language Learning and Language Teaching. 3rd edition, London: Arnold.

Culham, C,R. (2003). Making the Communication Possible: Drama as a method in developing the language of everyday in ESL Classroom. University of Victoria.

Dunn & Stinson. (2011). Drama Education in second language learning: a growing field of practice and research. The Journal of Applied Theatre and Performance, 16(4),479-488.

Ellis, R. (2003). Task-Based Language Learning and Teaching. Oxford: Oxford University Press.

Gidoni, Y. (2018). The use of drawing tasks as a creative strategy for pupils in the English as Foreign Language. (EFL)classroom. Journal of Second Language Teaching and Research. 6(1), 5-19. Achva Academic College of Education, The Hebrew University of Jerusalem, Israel.

Hall, J. K, & Walsh, M. (2002). Teacher-Student Interaction and Language Learning. Annual Review of Applied Linguistics, 22, 186-203. Cambridge: Cambridge University Press.

Lee, H.C. (2014). Using an arts-integrated multimodal approach to promote English learning: A case study of two Taiwanese junior college students. English Teaching: Practice and Critique, 13(2), 55-75.

Risidianto, F. (2019). The use of drama to develop English speaking autonomous leaching. (Proceedings of the 1st Seminar and Workshop on Research Design, for Education, Social Science, Arts, and Humanities, SEWORD FRESSH 2019, April 27 2019, Surakarta, Central Java, Indonesia)

Taskin-Can, B. (2013). The Effects of Using Creative Drama with Science Education on Students’ Achievements and Scientific Process Skills. IIKogretim Online, 12(1), 120-131.

Terada, Y. (2019). The Powerful Effects of Drawing on Learning. Edutopia, May2019.

The Arts Education Partnerships-US Department of Education: Teaching Partnerships: Report of a National Forum Partnership (2002). Retrived from https://usatoday30usatoday.com.

Yavuz, F. (2018). Language Learning through Drama. International Journal of Learning and Teaching, 10(4), 376-380.