ครูดิจิทัลภายใต้สื่อใหม่และการเรียนรู้ เพื่อความก้าวหน้าของมนุษยชาติ
Main Article Content
บทคัดย่อ
การพัฒนาอย่างต่อเนื่องของครูดิจิทัล เป็นครูที่อยู่ในช่วงของความเจริญของสื่อใหม่ในยุคสื่อสังคมออนไลน์ ที่เกิดความเปลี่ยนแปลงจากการขยายตัวของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารบนเครือข่ายไร้สายอย่างรวดเร็ว จะส่งผลให้สังคมเข้าสู่ยุคดิจิทัลที่สื่อสังคมออนไลน์เข้ามาในวิถีชีวิตของมนุษยชาติมากขึ้น การออกแบบนวัตกรรมทางการเรียนรู้และเทคโนโลยีการจัดการศึกษา โดยมีแนวคิดสนับสนุนการแก้ไขปัญหาการเรียนการสอนของครูให้สามารถสร้างประโยชน์ที่ส่งผลกระทบเชิงบวกและเชิงลบต่อความก้าวหน้าของมนุษยชาติ ซึ่งปัจจุบันการใช้สื่อใหม่ในยุคสังคมออนไลน์บนเครือข่ายไร้สายที่ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญสามารถช่วยขับเคลื่อนสื่อสารกันได้อย่างทั่วถึงได้รับอิทธิพลจากการใช้การสื่อสารเทคโนโลยี 5G ดังนั้น กระบวนการทำงานของครูดิจิทัลภายใต้ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อความก้าวหน้าของมนุษยชาตินั้น เป็นการเสริมสร้างสมรรถนะหลัก ความรู้ ความสามารถ และทักษะในการจัดการศึกษาให้กับครูดิจิทัลบนพื้นฐาน 3 ประการ คือ การบริหารจัดการเรียนรู้ นวัตกรรม และความก้าวหน้าของมนุษยชาติ ซึ่งเป็นรากฐานสำคัญสำหรับการดำรงชีวิต การพัฒนา และการเติบโตของมนุษยชาติในเศรษฐกิจดิจิทัล และนวัตกรรมการเรียนรู้เชิงรุกและตอบสนองความต้องการที่หลากหลายของผู้เรียน และจะเป็นพลังที่แข็งแกร่งของการปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาตนเองและวิชาชีพของมนุษยชาติให้ก้าวหน้าไปพร้อมกับเทคโนโลยีในอนาคต และความเจริญก้าวหน้าของมนุษย์ที่ตอบสนองต่อความต้องการในการจัดการศึกษาด้านต่างๆ
Article Details
References
Child and Youth Media Foundation. (2020). Khwām chalāt thāngō̜ dičhithan. [Digital Intelligence] (3rd ed.). Pathumthani: Walk on Cloud.
มูลนิธิส่งเสริมสื่อเด็กและเยาวชน. (2563). ความฉลาดทางดิจิทัล (พิมพ์ครั้งที่ 3). ปทุมธานี: วอร์ค ออน คลาวด์.
Choosringam, M. (2019). Tham khwām rū čhak kap AR læ VR læ kān nam pai chai nai lōk thurakit. [Get to Know AR and VR and Applying in the Business World]. Retrieved June 4, 2023, from https://www.aware.co.th/ar-vr-ในโลกธุรกิจ/
มนชนก ช่อศรีงาม. (2562). ทำความรู้จักกับ AR และ VR และการนำไปใช้ในโลกธุรกิจ. สืบค้น 4 มิถุนายน 2566, จาก https://www.aware.co.th/ar-vr-ในโลกธุรกิจ/. Intharawiset, T., Phulketnakhon, T., Charoensa, T., Nak-in, N., Agbi, A., &
Roungrong, P. (2019). Thēknōlōyī læ Nawatkam kap kānčhat kānrīan kānsō̜n nai yukhō̜dičhithan. [Technology and Innovation for Instructional in Digital Ages]. Veridian E-Journal, Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts), 12(6), 478-494. Retrieved from https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/ view/ 192006/161040
ธานินทร์ อินทรวิเศษ, ธนวัตน์ พูลเขตนคร, ธนวัตน์ เจริญษา, นิตยา นาคอินทร์, ออกัสติน อักบี, และภาสกร เรืองรอง. (2562). เทคโนโลยีและนวัตกรรมกับการจัดการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ Veridian มหาวิทยาลัยศิลปากร (มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์และศิลปะ), 12(6), 478-494. จาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/ 192006/161040.
Kaewthep, K. & Chaikhunpon, N. (2012). Khūmư̄ sư̄mai sưksā. [New media study guide]. Bangkok: TRF Senior Research Scholar, The Thailand Research Fund.
กาญจนา แก้วเทพ และนิคม ชัยขุนพล. (2555). คู่มือสื่อใหม่ศึกษา. กรุงเทพฯ: โครงการเมธีวิจัยอาวุโส สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
Marc, P. (2010). Educational Technology for School Leaders. California, CA,: n.p.
Nedpogaeo, A., (2018). Sư̄ sāt: lakkān nǣokhit nawattakam. [Mediumology]. Bangkok: Nakorn.
อัศวิน เนตรโพธิ์แก้ว. (2561). สื่อศาสตร์: หลักการ แนวคิด นวัตกรรม. กรุงเทพฯ: นาคร.
UNSCO. (2019). Artificial Intelligence (AI) in Education: Challenges and Opportunities for Sustainable Development. Retrieved May 4, 2023, from: https://unesdoc.unesco. org/ark:/48223/pf0000366994.