ผลการใช้ภาพยนตร์สั้นที่มีต่อความสามารถในการเขียนย่อหน้าภาษาอังกฤษและ ความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2

Main Article Content

บุญญฤทธิ์ วิปุละ
อารีรักษ์ มีแจ้ง
ศิตา เยี่ยมขันติถาวร

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความสามารถในการเขียนย่อหน้าภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังการเรียนทักษะการเขียนย่อหน้าภาษาอังกฤษโดยใช้ภาพยนตร์สั้น และ (2) ศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนภาษาอังกฤษโดยใช้ภาพยนตร์สั้นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 28 คน ในห้องเรียนของโรงเรียนลาดปลาเค้าพิทยาคมกรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 ซึ่งได้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) แผนการจัดการเรียนรู้ทักษะการเขียนย่อหน้าภาษาอังกฤษโดยใช้ภาพยนตร์สั้น (2) แบบทดสอบวัดความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษ และ  (3) แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนภาษาอังกฤษโดยใช้ภาพยนตร์สั้น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีแบบไม่อิสระต่อกัน ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ความสามารถในการเขียนย่อหน้าภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนภาษาอังกฤษโดยใช้ภาพยนตร์สั้นอยู่ในระดับมาก

Article Details

How to Cite
วิปุละ บ., มีแจ้ง อ., & เยี่ยมขันติถาวร ศ. (2021). ผลการใช้ภาพยนตร์สั้นที่มีต่อความสามารถในการเขียนย่อหน้าภาษาอังกฤษและ ความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2. วารสารศึกษาศาสตร์ มสธ., 14(1), 60–73. สืบค้น จาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/edjour_stou/article/view/241988
บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

เกวดี ขุนทองจันทร์. (2560). หนังสั้นคืออะไร และมีความเป็นมาอย่างไรในประเทศไทย. สืบค้นจาก https://sites.google.com/a/srp.ac.th/srp30885/how-to-making/bthkhwammimichux.

คนึงนิจ จิตตรง. (2548). การใช้ภาพยนตร์ประกอบการอภิปรายเพื่อส่งเสริมความสามารถในการอ่านภาษาอังกฤษ ความสามารถในการเขียนเชิงสร้างสรรค์ และความคิดวิจารณญาณของนักเรียนเตรียมทหาร. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). สืบค้นจาก https://dric.nrct.go.th/index.php?/Search/SearchDetail/175388

จริยา จงนานุรักษ์. (2557). ตัวอย่างเกณฑ์การประเมินการเขียน. ใน New World 6. คู่มือครูรายวิชาพื้นฐาน ภาษาอังกฤษชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6. น. 19. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.

บุญชม ศรีสะอาด. (2556). วิธีการทางสถิติสำหรับการวิจัย เล่ม 1 (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพมหานคร: สุวีริยาสาส์น.

ยุกติ มุกดาวิจิตร. (2558). ปัญหาในงานเขียนของนักศึกษา. สืบค้นจาก http://pokpong.org/writing/tip-for-academic-writing/

ศิริเพชรรัตน์ ด้วงเงิน. (2552). การใช้ภาพยนตร์เพื่อส่งเสริมความเข้าใจและแรงจูงใจในการอ่านวรรณกรรม ภาษาอังกฤษ. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

สุทธิชัย ปัญญโรจน์. (2555). หัวใจนักเขียน. สืบค้นจาก http://mrmarkandtony4.blogspot.com/2012/01

อนามัย ดำเนตร. (2556). หน่วยที่ 14 ปัญหาการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษ. ใน ประมวลสาระหลักการเรียนรู้ภาษาอังกฤษและบริบททางภาษา หน่วยที่ 8-15. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

อัศวพร แสงอรุณเลิศ. (2551). การใช้ภาพยนตร์เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษและการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนระดับก้าวหน้า. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

Aruta, D. (2018). Why is writing so difficult. Retrieved from https://writingcooperative.com/why-is-writing-so-difficult-357fb86ff581

Bilash, O. (2009). Best of Bilash: Using audio and video in the classroom. Improving second language education. Retrieved from http://www2.education. ualberta.ca/staff/olenka.Bilash/best%20of%20bilash/audiovideo.html

Boniwell, I. (2016). How to teach happiness at school. Retrieved from https://greatergood.berkeley.edu/article/item/how_to_teach_happiness_at_school

Brookes, D. C. (2012). Space and consequences: The impact of different formal learning spaces on instructor and student behavior. Retrieved from https://libjournal.uncg.edu/jls/article/view/285

Crystal, D. (2010). Multilingual law: A framework for analysis and understanding. Retrieved from https://books.google.co.th/books?id=cQ1qDAAAQBAJ&pg=PA94&lpg=PA94&dq=writing+crystal+2010&source=bl&ots=z9vClNVtrA&sig=ACfU3U1eI7X9dRl9qFMIXJUNqdUXDuBR0A&hl=th&sa=X&ved=2ahUKEwjRs7OK57rnAhX1zDgGHR0ABv8Q6AEwCnoECAkQAQ#v=onepage&q=writing%20crystal%202010&f=false

Ddeubel, P. (2009). Teaching writing – activities and ideas. Retrieved from http://ddeubel.edublogs.org/2009/09/22/teaching-writing-activities-and-ideas

Donaghy, K. (2016). Seven factors to bear in mind when teaching older students. Retrieved from http://kierandonaghy.com/seven-factors-bear-mind-teaching-older-students

Ghee, T. P. (2007). Using music television videos (MTV) as a teaching strategy. National institute of education. Retrieved from http://conference.nie.edu.sg/2007/paper/papers/LAN387.pdf

Hayden, M. (2011). Using music videos. Academic search. Retrieved from http://ehis.ebscohost.com/ehost/detail?vid=4&hid=103&sid=5e6f9d9f-c9ab-4e94-964f-1f03c07d7a7%40sessionmgr10&bdata=JnNpdGU9ZWhvc3QtbGl2ZQ%3d%3d

Hough, D. (2013). Happy students make better learners. Retrieved from https://www.howtolearn.com/2013/09/happy-students-make-for-better-learners

Lampariello, L. and Morehouse, K. (2017). How to watch movies to improve your foreign languages. Retrieved from https://www.lucalampariello.com/how-to-watch-movies

Likert, R. (1932). A Teachnique for the measurement of attitudes. New York: New York University.

Luke, R. (2009). Turn it on and turn it up: Incorporating music videos in the ELA classroom. National council of teachers of English. Retrieved from http://www.ncte.org/journals/ej/issues/v98-6

Muench, K. (2016). Short films – simple lesson activities. Retrieved from https://fivethingselt.wordpress.com/2016/12/03/short-films-simple-lesson-activities.

Papadopoulou, V. (2017). How to teach English through short films and documentaries. Retrieved from https://www.fluentu.com/blog/educator-english/esl-short-films-lessons

Swain, L. O. (2017). Language learning under classroom conditions during the transition to hybrid instruction: A case-study of student performance during the implementation of instructional technology. Retrieved from https://pdfs.semanticscholar.org/aa59/f887ddc7cdf2196ee8eda39fc242b7e15110.pdf

Walsh, K. (2010). The importance of writing skills: online tools to encourage success. Retrieved from https://www.emergingedtech.com /2010/11/the-importance-of-writing-skills-online-tools-to-encourage-success

Whitney, D. R. & Sabers, D. L. (1970). Improving essay examinations III, use of item analysis technical Bulletin II (Mimeographed). Iowa City: University and Examination Service