การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนผู้สูงอายุในการพัฒนาคุณภาพชีวิตจังหวัดเชียงราย

ผู้แต่ง

  • Benjamat Muangkasem สำนักวิชาสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v11i1.158656

คำสำคัญ:

คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ, การพัฒนารูปแบบ, โรงเรียนผู้สูงอายุ

บทคัดย่อ

          การศึกษาเรื่องการพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนผู้สูงอายุในการพัฒนาคุณภาพชีวิต จังหวัดเชียงราย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตของนักเรียนผู้สูงอายุ รูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนผู้สูงอายุ และพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนผู้สูงอายุในการพัฒนาคุณภาพชีวิต จังหวัดเชียงราย สำหรับกลุ่มเป้าหมายคือนักเรียนผู้สูงอายุ จำนวน 343 คน และคณะผู้บริหาร ผู้สอน ตัวแทนนักเรียนผู้สูงอายุ ในจังหวัดเชียงราย จำนวน 11 แห่ง ซึ่งผู้วิจัยได้ใช้วิธีการเก็บข้อมูลคือการสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม การสังเกต และแบบสอบถาม โดยการวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เนื้อหา และสถิติที่ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลคุณภาพชีวิตของนักเรียนโรงเรียนผู้สูงอายุจังหวัดเชียงราย พบว่า ในภาพรวมอยู่ในระดับสูง ( = 3.95 , S.D. = 0.58) สำหรับการพัฒนารูปแบบ มีกระบวนการจัดการโดยใช้หลัก 5 ก ได้แก่ กลุ่ม กรรมการ กติกา กิจกรรม และกองทุนมาเป็นฐานการบริหารจัดการ โดยมุ่งเน้นให้เกิดการพัฒนาคุณภาพชีวิตทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคมและเศรษฐกิจ นำทุนทางสังคมในชุมชน และการมีส่วนร่วมมาเป็นพลังขับเคลื่อนในการดำเนินงานให้บรรลุเป้าหมายสำคัญ คือ สูงวัยอย่างทรงคุณค่า ชราอย่างภาคภูมิ 

References

Ayuwat, D. (2007). Life quality gauge: A case study of people in the northeastern region of Thailand. Bangkok: Chulalongkorn University.

Chiang Rai Provincial Statistical Office. (2017). Central information for the elderly. Search 12 April 2017 from https://chiangrai.nso.go.th.

Chittaphunkun, S. (2000). Status of the current Thai elderly population and various actions of the country. Bangkok: Chulalongkorn University Printing House.

Department of Elderly Affairs. (2016) . Elderly rights United Nations. Search 10 April 2017 fromhttps://www.dop.go.th/upload/laws/law.

Jakuphan, J. (2008). Thailand cannot escape the social crisis.Elderly. Retrieved 7 July 2013 from https://www.healthcorners.com.

Kheawsaard, P. (2007). Problems and needs On health and social promotion of Elderly in Sriracha Municipality Jung, Chon Buri. Special Problems Master of Public Administration, Local Administration Program, College of Public Administration, Burapha University.

Khuha, S. (2009). Guidelines for improving the quality of life Elderly of Nong Khao Subdistrict Municipality Tha Muang District, Kanchanaburi Province. Independent Study Report, State Degree Master of Public Administration.Khon Kaen University, Khon Kaen.

Nanakkawat, D. (2007). Factors related to self-care of the elderly in case of Muang Kham Subdistrict, Phan District, Chiang Rai Province. Term paper Master of Arts, Social Development, Faculty of Social and Environmental Development, National Institute of Development Administration.

National Elderly Committee. (2009). Plan National elderly 2002-2021. Ministry of Social Development and Security Of human beings. Bangkok : Pen Vanis.

Thamsiri, B. (2006). Family and elderly care. Journal of the Phra Kaeo, Exhibition of Chao Fah Academic Day. Faculty of Science and Technology Valaya Alongkorn Rajabhat University: Bangkok.

Torpanya, W. et al. (2004). Problems and needs in health and social promotion activities of the elderly in the elderly club in Lampang Province. Bangkok: Office of Health Promotion Foundation.

Wang Mahaporn, P. (2012). Cooperation in the management of elderly schools: cross analysis of theses cases. Master of Public Administration. Sripatum University: Bangkok. Kaiyawan, Y. (2000). Fundamental research.Bangkok: Suviriyasasan.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

05-04-2019

How to Cite

Muangkasem, B. (2019). การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนผู้สูงอายุในการพัฒนาคุณภาพชีวิตจังหวัดเชียงราย. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 11(1), 49–58. https://doi.org/10.53848/irdssru.v11i1.158656