การพัฒนากระบวนการสอนแบบจุลภาคสำหรับอาจารย์ผู้สอนและอาจารย์นิเทศนักศึกษา ในหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

ผู้แต่ง

  • Panya Theerawittayalert
  • Nart Srilapo
  • Krissana Maneerat

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v11i1.179311

คำสำคัญ:

กระบวนการสอนแบบจุลภาค, หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต, อาจารย์นิเทศก์

บทคัดย่อ

         การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนากระบวนการสอนแบบจุลภาคสำหรับอาจารย์ผู้สอนและอาจารย์นิเทศนักศึกษา
ในหลักสูตรครุศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม และ 2) เปรียบเทียบการสอนแบบจุลภาคก่อนและหลังการใช้กระบวนการสอนแบบจุลภาคสำหรับอาจารย์ผู้สอนและอาจารย์นิเทศก์นักศึกษา ในหลักสูตรครุศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลอง คือ อาจารย์ผู้สอนและอาจารย์นิเทศนักศึกษาในหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏ
จันทรเกษม ที่เลือกแบบเจาะจง จำนวน 16 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วยแบบประเมินตนเอง และแบบสังเกตพฤติกรรมการสอน ผลการวิจัยพบว่า 1) กระบวนการสอนแบบจุลภาคสำหรับอาจารย์ผู้สอนและอาจารย์นิเทศก์นักศึกษา ในหลักสูตรครุศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมที่พัฒนาขึ้นมีทั้งหมด 9 ขั้นตอน 2) การสอนแบบจุลภาคก่อนและหลังการใช้กระบวนการสอนแบบจุลภาคสำหรับอาจารย์ผู้สอนและอาจารย์นิเทศก์นักศึกษา ในหลักสูตรครุศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมของกลุ่มตัวอย่าง

References

Khaemmanee, T. (2011). Teaching science: knowledge for effective learning process management. Type 14. Bangkok: Chulalongkorn University Publishing House.

Malila, C. (1983). History of teaching behavior. 2. Petit: Moonlight printing.

Sinthawanon, P. et al. (1976). Supervision Document No. 181. Supervisory Unit Department of Teacher Training.

Sukhothai Thammathirat Open University. (2001). Teaching materials, educational technology and communication kits. 2nd edition, Nonthaburi: Sukhothai Thammathirat Open University.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

04-04-2019

How to Cite

Theerawittayalert, P., Srilapo, N., & Maneerat, K. (2019). การพัฒนากระบวนการสอนแบบจุลภาคสำหรับอาจารย์ผู้สอนและอาจารย์นิเทศนักศึกษา ในหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 11(1), 59–68. https://doi.org/10.53848/irdssru.v11i1.179311