ปัญหาทางกฎหมายในการคุ้มครองคนเร่ร่อน ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง พ.ศ. 2557

ผู้แต่ง

  • สุดารัตน์ แก้วกาเหนิด

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i1.213823

คำสำคัญ:

การคุ้มครองคนเร่ร่อน, คนไร้ที่พึ่ง, องค์กรที่ให้การคุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง, รัฐสวัสดิการ

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงสิทธิขั้นพื้นฐาน และมาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับ
การคุ้มครองคนไร้ที่พึ่งตามกฎหมายไทย รวมทั้งวิเคราะห์ปัญหา และแนวทางการแก้ไขปัญหาทาง
กฎหมายที่เกี่ยวกับการคุ้มครองเร่ร่อน ตามกฎหมายคุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง ผู้วิจัยใช้วิธีการศึกษาเชิงเอกสาร
ด้วยวิธีการพรรณนาเชิงวิเคราะห์ โดยใช้กระบวนการศึกษาค้นคว้า และรวบรวมข้อมูลจากตารา
หนังสือ บทความ ตลอดจนงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อตอบคาถามการวิจัย ผลการศึกษาพบว่าคนเร่ร่อน
ที่ประกอบอาชีพขอทานเป็นบุคคลที่อพยพย้ายถิ่นฐานมาจากภูมิลาเนา เพราะต้องเผชิญกับ
ความยากลาบาก ในชีวิตอย่างแสนสาหัส การบริการสาธารณะไม่อาจเข้าถึงกลุ่มคนเหล่านี้ ประกอบกับ
การมุ่งหวังว่าการเข้าสู่เมืองหลวงจะทาให้มีชีวิตที่ดีกว่า แต่ละคนมีการหาทางและดิ้นรนเพื่อการดารงอยู่
แตกต่างกันออกไป และไม่ประสงค์จะรับการสงเคราะห์ เพราะต้องอยู่ในระเบียบและต้องฝึกงาน
ที่ตนเองไม่ถนัด เมื่อออกมาเร่ร่อนพักอาศัยในสถานที่สาธารณะ จึงกลายเป็นผู้ที่กระทาความผิดเกี่ยวกับ
การพักอาศัยในที่สาธารณะตามกฎหมาย หรือข้อบัญญัติท้องถิ่น ให้เจ้าหน้าที่ส่งตัวคนไร้ที่พึ่งนั้นไปยัง
สถานคุ้มครองคนไร้ที่พึ่งหรือศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง และในกรณีที่คนไร้ที่พึ่งไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขของ
สถานคุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง ให้เจ้าหน้าที่ตามกฎหมายหรือข้อบัญญัติท้องถิ่นพิจารณาดาเนินคดีตาม
กฎหมายหรือข้อบัญญัติท้องถิ่นต่อไปเป็นการสร้างเงื่อนไขหรือสภาพบังคับกับคนเร่ร่อน ที่ใช้ชีวิตในที่
สาธารณะทุกคนให้ต้องเข้าไปอยู่ในสถานสงเคราะห์โดยมิได้มีความสมัครใจ จึงควรยกเลิกบทบัญญัติ
ดังกล่าว เพื่อผ่อนคลายสภาพบังคับของกฎหมาย โดยเปิดโอกาสให้ผู้ที่ใช้ชีวิตในที่สาธารณะขอรับ
การช่วยเหลือตามความสมัครใจ เพื่อให้กลุ่มคนที่ประสบปัญหาในชีวิตได้รับการคุ้มครองช่วยเหลือ ไม่ตกเป็นผู้กระทาความผิดตามพระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน และไม่ซ้าซ้อนกับการช่วยเหลือตามกฎหมายอื่นหากบุคคลเร่ร่อนนั้น เป็นบุคคลต่างด้าว ก็ควรให้การช่วยเหลือตามหลักสิทธิมนุษยชนแล้วดาเนินการผลักดันกลับสู่ประเทศต่อไป

References

Austin, J. (1879). Lectures on jurisprudence,
or, the philosophy of positive
law. (4th edition). Vol I. London: J.
Murray.
Boonyoiyad, H. and Makarabhirom, P.
(2010). Human rights and the
struggles of the homeless in
Phra-Nakorn District. Thesis of
Master. Degree. human rights and
development. Mahidol University.
Chaletorn, B. (2010). Swedish welfare
state. Bangkok: Borpit Printing.
Charoenthanavat, K. (2004). The
principle of the law on rights and
freedoms. Bangkok: Winyuchon
Printing.
Chuathai, S. (2009) Introduction to
public law .Bangkok: Winyuchon
Printing.
Department of Social Development and
Welfare. (2011). Manual synchronization
service delivery to users. Bangkok:
Ministry of Social Development and
Human Security.
Émile Giraud. (1924). Étude sur la
notiondu pouvoir discrétionnaire.
Revue généraled’administration.
Volume 47.
Gilles Lebreton. (2004). Droit
administratif général. (3e édition).
Paris: Armand Colin.
Godechot, J. (1995). Les constitutions de
la France depuis 1789. Paris:
GarnierFlammarion.
Kasemsap, P. (2009). Legal philosophy.
(10th ed). Faculty of Law. Tammasst
University.
Kuanhin, K. (2011). The problems of
liberty of opinion in Thai legal.
Thesis of Master Degree Public Law
Faculty of Law, Thammasat
University.
Nasakul, V. and group. (1978).
Introduction to the Science of
Law. Bangkok: Ramkhamhaeng
University.
Nasakul, V. (2007). Principle of public
law. Bangkok: St. John's University
Nicholas, B. (1996). An introduction to
roman law. Oxford: Clarendon Press.
Nuansakul, S. and Rojanapun, K. (1996).
Polotical Theories. Bangkok:
Ramkhamhaeng University.
Punyaratabandhu, P and group. (2014).
Research Report. Continuing to
develop policies and
mechanisms. Promoting equality
and fairness in society.
Srijamol, J. (1975). The problems and
needs of the destitute in
thanyaburi home for the
destitute, pathum thani
province. Thesis of Master Degree
Social Development Graduate
School Thammasat University.
The secretariat of the house of
representatives. (2015). Prevent
trafficking national agenda.
Bangkok: secretariat of the house
of representatives Printing.
Vachanasvasti, K. (2008). Description
Criminal Division 1. (10thed).
Bangkok: Pholsiam Printing
Publishing (Thailand).
Wiwatana, J. (2003). Database design for
clients of nonthaburi acception
home for the destitute. Thesis of
Master Degree Social Development
Graduate School Kasetsart
University.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

02-09-2019

How to Cite

แก้วกาเหนิด ส. (2019). ปัญหาทางกฎหมายในการคุ้มครองคนเร่ร่อน ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองคนไร้ที่พึ่ง พ.ศ. 2557. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 9(1), 168. https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i1.213823