การออกแบบโต๊ะทดลองในห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาของโรงเรียนในจังหวัดเชียงราย
DOI:
https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i2.214162คำสำคัญ:
การออกแบบโต๊ะทดลอง, ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนบทคัดย่อ
การวิจัยนี้ได้ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมและความต้องการของผู้ใช้ห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดเชียงราย โดยกำหนดกลุ่มเป้าหมายของโรงเรียนที่สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 36 ในเขตอำเภอเมืองจำนวน 8 แห่ง จากการสัมภาษณ์และจัดเวทีกลุ่มสนทนา พบว่า โต๊ะทดลองวิทยาศาสตร์มีขนาดสัดส่วนที่ไม่เหมาะสมกับนักเรียนแต่ละวัย เกิดความเสียหายมากกว่าโต๊ะในห้องเรียนทั่วไป และวัสดุที่ใช้ทำโต๊ะไม่ทนต่อสารเคมีการทดลองวิทยาศาสตร์ จากปัญหาข้างต้นได้นำมาวิเคราะห์และได้หาวิธีแก้ไข้ปัญหา โดยผลการวิจัย พบว่า การออกแบบให้เหมาะสมกับขนาดของนักเรียนมัธยมปลาย ที่สามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบให้เหมาะกับการเรียนวิทยาศาสตร์ และเลือกใช้วัสดุที่ทนต่อสารเคมีและโต๊ะ หลังดำเนินการออกแบบได้ประเมินประสิทธิภาพการใช้งานของกลุ่มผู้ใช้ เพื่อสร้างต้นแบบโต๊ะทดลองวิทยาศาสตร์ และส่งมอบให้กับโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาของจังหวัดเชียงราย
References
Learning Organization. Bangkok:
Rung silp press.
Ministry of Education.(2011). Secondary
Education Curriculum in 2011.
Bangkok: Teachers Council Ladpraw
press.
Somsak Somboonroth. (2007). The
relationship of Human Scale in
furniture design. Bangkok: Odeanstore
Press.
Thairath Jarutath. (2014). The furniture
design for All. Bangkok: Chulalongkorn
University Press.
The institute for the Promotion of
Teaching Science and Technology
(2010). The scientific desk design
of laboratory science for
secondary schools. Bangkok: intereducation
press.
Wannee Sahasomchok. (2006). The
principle of furniture design.
Bangkok: Technology Promotion
Association Press.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว