การพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะวิชาชีพครูสําหรับนักศึกษา ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏ วิภาวรรณ เอกวรรณัง

ผู้แต่ง

  • วิภาวรรณ เอกวรรณัง
  • พิกุล เอกวรางกรู
  • บุญเรียง ขจรศิลป์

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i2.214174

คำสำคัญ:

นักศึกษาครู,นักศึกษาฝกประสบการณวิชาชีพครู, การประเมินสมรรถนะวิชาชีพครู, คณะครุศาสตร

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะวิชาชีพครูของนักศึกษาฝกประสบการณวิชาชีพ ครูมหาวิทยาลัยราชภัฏ การดําเนินการวิจัยประกอบดวยขั้นตอนยอย 4 ขั้นตอน ไดแก 1) การสังเคราะห เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของกับสมรรถนะวิชาชีพครู 2) การประเมินความตองการจําเปน 3) การพัฒนาตัวบงชี้ 4) การสรางเครื่องมือการประเมินสมรรถนะวิชาชีพครู สําหรับนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู มหาวิทยาลัย ราชภัฏ ผลการวิจัย พบว่า ควรมีการ พัฒนาแบบประเมินสมรรถนะวิชาชีพครู สําหรับนักศึกษาฝึกประสบการณ์ วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏ ให้สอดคล้องกับมาตรฐานวิชาทางการศึกษา กรอบมาตรฐานคุณวุฒิปริญญาตรี สาขาครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์(หลักสูตร 5 ปี) โดยการ พัฒนาเป็น แบบตรวจสอบรายการ ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้ สมรรถนะหลัก 2 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ ตัวบ่งชี้สมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย ตัวบ่งชี้สมรรถนะย้อย ดังนี้1) การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ 2) การเตรียมสิ่งที่เกี่ยวข้องเพื่อการจัดการเรียนรู้ 3) การนําเข้าสู่บทเรียน 4) บทบาทของผู้อํานวยความสะดวกในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 5) การสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน 6) การใช้ สื่อ / นวัตกรรม/ แหล่งเรียนรู้ 7) การวัดและประเมินการเรียนรู้นักเรียน 8) การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ 9)ความรู้ที่จะนํามาใช้ในวิชาชีพครู และ ตัวบ่งชี้สมรรถนะด้านคุณธรรม จริยธรรม การปฏิบัติงานครู โดย ประกอบด้วยตัวบ่งชี้สมรรถนะย้อยดังนี้ 1) การแสดงพฤติกรรมที่บ่งบอกได้ถึงความศรัทธาในวิชาชีพครูและเป็น แบบอย่างที่ดีให้กับนักเรียน 2) ปฏิบัติตนได้เหมาะสมกับการประกอบวิชาชีพครู3)ความรับผิดชอบและความมีวินัย 4) การทํางานร่วมกับผู้อื่น5) ปฏิบัติตนตามวิถีความเป็นไทยและปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง6)การใช้ทักษะการคิดในการ ปฏิบัติงานในหน้าที่ ครู 7)ทักษะการสื่อสาร และการใช้เทคโนโลย

References

Manintry of Education. (2012). Thai
Oualifications Framework for Higher
Education 2009 and Guideline.
(online) http:// www.mga.co.th 15th
May 2012.
Office of the Education Council. (2012).
The Proposal of the Policy and the
Stratigic for Propelling the
Education Reform in 2nd Decade.
(online) http://www. Onec.go.th. 27
th July 2012.
Ovando, M.N. (2001). “Teachers’
perceptions of a leaner-centered
teacher evaluation system.”
Journal of Personnel Evaluation
in Education. 15(3), 213-231.
Panich. (2012). Learning Method for
the Students in 21st Century.
Bangkok: Sodsri - Saritwong Foundation.
Stufflebeam, Daniel L. (2000). “Guidelines
for Developing Evaluation Checklist:
The Checklists Development
Checklist (CDC).” (Online) http://
www.wmich.edu/ evalctr/ checklist.
1 March 2014.
Stufflebeam, Daniel L. (2001). “Evaluation
Checklist: Practical Tools for
Guiding and Judging Evaluation”
American Journal of Evaluation.
22(1), 71-79.
The Government GaZette. (2006). Book
Royal Thai No. 123 Part 66, 177.
Wright, S.P., Horn, S.p., & Sanders, W.L.
(1997). “Teacher and classroom
effects on student achievement:
implication for teacher evaluation.”
Journal of Personnel Evaluation
in Education, 11(1), 47-67.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

03-09-2019

How to Cite

เอกวรรณัง ว., เอกวรางกรู พ., & ขจรศิลป์ บ. (2019). การพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะวิชาชีพครูสําหรับนักศึกษา ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏ วิภาวรรณ เอกวรรณัง. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 9(2), 119. https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i2.214174