การเมืองไทยในแม่บทของโครงเรื่อง (2475-2557)

ผู้แต่ง

  • เจษฎาภรณ์ อัจฉริโยภาส

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i2.214209

คำสำคัญ:

การเมืองไทย, แม่บทของโครงเรื่อง, ระบอบการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์, อำนาจนา กลุ่มหัวก้าวหน้า, กลุ่มราชานิยม

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้ศึกษาและวิเคราะห์เหตุการณ์การเมืองไทยหลังระบอบการปกครองแบบ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์ นับตั้งแต่คณะราษฎรได้ดาเนินการอภิวัฒน์เมื่อพ.ศ. 2475 จนถึง พ.ศ. 2557
โดยอธิบายภาพความเคลื่อนไหวที่ชัดเจนจากอดีต ปัจจุบัน และอนาคตตามแม่บทของโครงเรื่อง
ผลการวิจัยพบว่า
แม่บทของโครงเรื่องตามบทบาทการชิงอานาจนาบนพื้นที่รัฐธรรมนูญระหว่าง “กลุ่มหัวก้าวหน้า”
ในฐานะเป็นตัวละครหลัก (protagonist) และ “กลุ่มราชานิยม” ในฐานะเป็นตัวละครปฏิปักษ์ (antagonist)
ที่พิจารณาผ่านแม่บทของโครงเรื่อง (theme) อิงอยู่กับโครงเรื่อง (plot) จานวน 5 โครงเรื่องที่แบ่งตาม
ยุคสมัยรัฐธรรมนูญ และนาเสนอเรื่องราวเหตุการณ์ตามแนวทางการจัดวาง 4 ขั้นตอน คือ (1) เปิดเรื่อง
(2) ความปรารถนาของตัวละคร (3) ตัวละครเผชิญอุปสรรคปัญหา และ (4) จบเรื่องอย่างทรงพลัง นั้น
พบว่า “กลุ่มหัวก้าวหน้า” สูญเสียศักยภาพในการชิงอานาจนาบนพื้นที่รัฐธรรมนูญตลอดมา นับตั้งแต่
รัฐธรรมนูญฉบับแรกจนถึงฉบับท้ายสุดในสมัยปัจจุบัน เพราะไม่สามารถดารงหลักการการปกครองใน
ระบอบประชาธิปไตยตามหลักสากลที่เป็นอุดมคติของตนได้อย่างถาวร แม้ว่าได้ทาการเปลี่ยนแปลง
การปกครองเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2474 เพราะ “อานาจอธิปไตยมาจากปวงชนชาวไทย” ที่ระบุ
ไว้ในรัฐธรรมนูญทุกฉบับ มิได้ยึดโยงอยู่กับประชาชนผ่านสภาผู้แทนราษฎรและผ่านการมีส่วนร่วม
ทางการเมืองของประชาชนอย่างเป็นจริงที่สุด และมีการแทรกแซงของคณาธิปไตยทหารเป็นเงื่อนไข
และอุปสรรคขัดขวางอย่างมากต่อระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยตามหลักการสากลที่เป็นอุดม
คติของ “กลุ่มหัวก้าวหน้า” อุปสรรคขัดขวางเรียกว่า “วงจรอุบาทว์” (vicious cycle)
ดังนั้น ในมิติแม่บทของโครงเรื่อง “กลุ่มหัวก้าวหน้า” จึงเป็นกลุ่มบุคคลผู้มีหน้าที่รับผิดชอบ
ที่ฟันฝ่าอุปสรรคเพื่อให้บรรลุอุดมคติอันรุ่งโรจน์ แต่กลับต้องรับหน้าที่ที่นาไปสู่ความหายนะจนต้อง
เสียสละอย่างใหญ่หลวง เผชิญสถานการณ์เรื่องผิดกลายเป็นเรื่องถูก ในที่สุดต้องเผชิญปัญหาที่ไม่มี
คาตอบตลอดมาจนถึงเวลาปัจจุบัน ซึ่งสรุปแก่นเรื่องว่า “ความพยายามอยู่ที่ไหนความสาเร็จอาจไม่ได้
อยู่ที่นั่น” ที่สาคัญที่สุดคือ ถ้าแก่นเรื่องเป็นเช่นเดิม อนาคตสังคมวัฒนธรรมการเมืองไทยจะเป็นเช่นเดิม
เช่นเดียวกัน

References

Cook, W. W.(1928) Plotto The Classic
Plot Suggestion Tool For Writers
of Creative Fiction. (U.S.A.: Norton
Creek Press, originally published
1928).
Eawsriwong, N. (2000). Rattanakosin
History in Ayudhya Chronical. 3rd
Ed. Bangkok: Matichon Publishing
House. (in Thai).
Kasetsiri, Ch. (2006). Political History of
Thailand 1932-1957. 2nd Ed.
Bangkok: The Foundation for the
Promotion of Social Sciences and
Humanities Textbooks Project.
Ruankaew.
Phongpaichit, P. and Baker, Ch. (1999).
Setthakit kanmuang thai samai
krungthep. 2nd Ed.
Prompanjai, A. (2015). The Thai
bureaucratic polity during the
general Prem Tinsulanonda period:
The problems of semi-democratic
regime (1980 -1988). Journal of
Social Sciences, Faculty of Political
Science, Chulalongkorn University
Vol. 45 No 2 (Jul-Dec2015), 77. (in
Thai) Publishing. (in Thai).
Sathitniramai, A. (2013). Ratthai kub
karnpatiroob settakij chak
kamnerd toonniyom naitanakarn
toong wikrit settakij 1997.
Bangkok: Samesky Books. (in Thai).
Sattayanurak, A. (1987). The
Transformation of Historical
Consciousness and the Changes
in Thai Society from the Reign of
King Mongkut to 1932 A.D.
(Thesis). Bangkok: Department of
History, Chulalongkorn University.
(in Thai).
Sawyer, T. & Weingarten, A.D., Plots
Unlimited. (Malibu, California:
Ashleywilde, 2004). Tropics of
Discourse: Essays in Cultural
Criticism. Johns Hopkins University
Press,Baltimore and London, USA
and UK 1987. Silkworm Books. (in
Thai).
Well,J.S. Plot & Structure. (OH, USA:
Writer’s Digest Books. 2004).
Winichakul, Th. (2001). “History Study on
Postmodern” in
Luamkotngaokorpoapaendin.
Bangkok: Matichon Publishing
House. (in Thai).

Downloads

เผยแพร่แล้ว

03-09-2019

How to Cite

อัจฉริโยภาส เ. (2019). การเมืองไทยในแม่บทของโครงเรื่อง (2475-2557). วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 9(2), 7. https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i2.214209