สมรรถนะในการปฏิบัติงานของหัวหน้างานสายการผลิตกับประสิทธิผล ขององค์การ บริษัท ผลิตน้าผลไม้กระป๋อง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

ผู้แต่ง

  • วิชดา ประชุมทอง
  • กฤตชน วงศ์รัตน์

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i2.214232

คำสำคัญ:

สมรรถนะในการปฏิบัติงาน, ประสิทธิผลองค์การ, หัวหน้าสายงาน, ผลิตนาผลไม้กระป๋อง, ประจวบคีรีขันธ์

บทคัดย่อ

อุตสาหกรรมการผลิตจาเป็นจะต้องอาศัยบุคลากรที่มีความรู้และทักษะในการทางาน
ซึ่งอุตสาหกรรมผลิตนาผลไม้กระป๋องยังขาดแคลนด้านปริมาณและคุณภาพ งานวิจัยนี ศึกษาสมรรถนะ
ในการปฏิบัติงานของหัวหน้างานสายการผลิตและประสิทธิผลขององค์การ บริษัท ผลิตนาผลไม้กระป๋อง
ในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะในการปฏิบัติงานของหัวหน้า
งานสายการผลิตกับประสิทธิผลขององค์การ บริษัทผลิตนาผลไม้กระป๋อง ในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ หัวหน้าแผนกการผลิต และหัวหน้าฝ่ายการผลิต ได้ขนาดกลุ่มตัวอย่าง
จานวน 245 คน ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถาม ผลการวิจัยพบว่า
สมรรถนะในการปฏิบัติงานของหัวหน้างานสายการผลิต โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และเมื่อพิจารณา
รายด้าน พบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยอยู่ในสูงสุด ได้แก่ ด้านความรู้ในการผลิต รองลงมา คือ ด้านทัศนคติ
ด้านบุคลิกลักษณะประจาตัวของบุคคล ด้านแรงจูงใจ และด้านทักษะในการผลิต ตามลาดับ ประสิทธิผล
ขององค์การ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด แต่เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยอยู่ในสูงสุด ได้แก่
ด้านการพัฒนาและการอยู่รอด รองลงมา คือ ด้านปริมาณและคุณภาพของการผลิต ด้านความพึงพอใจ
ด้านประสิทธิภาพ และด้านความสามารถในการปรับตัว ตามลาดับ ในด้านความสัมพันธ์ระหว่าง
สมรรถนะในการปฏิบัติงานของหัวหน้างานสายการผลิตกับประสิทธิผลขององค์การ โดยรวมมี
ความสัมพันธ์กันทางบวกในระดับสูง โดยมีค่าสัมประสิทธิ์ (r=0.825) และเมื่อพิจารณารายด้าน ด้านที่มี
ความสัมพันธ์กันทางบวกในระดับสูง ได้แก่ ด้านทัศนคติ (r = 0.800) ด้านแรงจูงใจ (r = 0.794)
ด้านทักษะในการผลิต (r = 0.790) และด้านบุคลิกลักษณะประจาตัวของบุคคล (r = 0.740) ด้านที่มี
ความสัมพันธ์กันทางบวกในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ ด้านความรู้ใน
การผลิต (r = 0.688) ข้อเสนอแนะพบว่า ประสิทธิผลขององค์การจะมีประสิทธิภาพก็ขึ นอยู่กับบุคลากร
ที่มีทัศนคติที่ดีองค์การ โดยให้มีความรู้สึกว่าองค์การที่ทาอยู่ในปัจจุบันมีความมั่นคง และมี
ความเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง ส่งผลทาให้สามารถพัฒนากระบวนการผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย
รวมทั งพัฒนากระบวนการทางานของบุคลากรเพื่อความอยู่รอดขององค์การได้

References

Cronbach, L. J. (1990). Essentials of
psychology Testing. 3
rded. New
York: Harper & Row Publishers.
Fakthong, P. (2009). The Relationship
between Fundamental Data and
Efficiency Successful Working OF
the Officers at Government
Saving Bank Region 5. Thesis
Master of Business Administration,
Phetchabun Rajabhat University.
Gibson, J. L. & Others. (1988). Organizational :
Behavior, Sstructure, Process. 3
rd
ed. Dallas; Texas : Business
Publications, Inc.
Hellriegel, Don, Jackson, Susan E., &
Slocum, John W. (2004).
Management A Competency
Based Approach. Ohio: Thomson
South-Western
Keyjohnnan, N. (2008). Organization
Behaviors. Bangkok: Se-Education
Public Company Limited.
Khaeng-ae, P. (2009). Factors Related to
Employees Teamwork Effectiveness
of E-Saansugar Industry Company
Limited. Thesis Master of Business
Administration, Sukhothai Thammathirat
Open University.
McClelland, David C. (1999). Identifying
Competencies with Behavioralevent interviews. Psychological
Science, 9(5). Retrieved December
11, 2005, from www.eiconsortium.
org/research/business_case_for_ei.htm.
Oangprabpram, S. (2008). Morale and
Work Performance Efficiency
Relation of Employees. Thesis
Master of Business Administration
Rajabhat Dusit University.
Office of Industrial Economics. (2016). Industry
Food Production. Bangkok: Office.
Office of Prachuap Khiri Khan Province.
(2014). Development Plan of
Prachuap Khiri Khan Province 2014-
2017. Prachuap Khiri Khan: Office.
Parry, S.B. (1996), The quest for
competencies. Training. 48-56.
Poolsilp, W. (2010). Competencies and
Characteristics of Employees
According to the Requirement of
Industries Located in Meung
District, Samutprakan Province.
Thesis Master of Business Administration
Dhonburi Rajabhat University.
Prahalad, C. K. and Hamel, G. (1990). The
Core Competence of the
Corporation. Retrieved December
11, 2015, from www.Bain.com/
management_tools/tools_competen
cies.asp.
Rungsaritikul, S. (2008). A Study of
Professional Competencies of
Accounting Staff from the
Opinions of the Head of
Accounting Department and the
Accounting Staff in Enterprises.
Thesis Master of Business Administration,
Rajamangala University of Technology
Rattanakosin.
Schein, E. H. (1992). Organizational culture
and leadership. 2nd ed. San
Francisco: Josey Bass.
Shirley A. Flether, K.A. (1989). The
Effectiveness Index as Comparative
Measure in Media Product
Evaluation. Education Technology,
20(09): 30 - 34.
Sokmanee, P.& Wirodrat, C. (2011). The
ability of an accountant with the
effectiveness of the work of
accountants of SMEs in Kalasin
Province. Rajamangala University
of Technology Isan Kalasin.
Thongjub, C. (2009). Competency model
for workforce development in
the workplace. Master of Business
Administration, King Mongkut’s
University of Technology North
Bangkok.
Tussiwat, C. (2010). Organizational climate
and individual characteristics
contributing to the organization of
learning.Bangkok: Faculty of Political
Science, Ramkhamhaeng University.
Watcharakarn, J. (2009). The Study of
Employees’ Managerial Competencies
and Performance efficiency in
Bureau of Highways 14
(Nakornsrithammarat) and Highway
District. Master of Business
Administration, Suan Dusit Rajabhat
University.
Wirasaetnee, C. (2010). Quality
Management. Bangkok: Tanapress.
Yamane, T. (1973). Statistics; An
Introduction Analysis. 3
rd ed. Tokyo
: Harper International Edition.
Yawirat, N. (2009). Leadership and
strategic leadership. Bangkok:
Central Express.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

03-09-2019

How to Cite

ประชุมทอง ว., & วงศ์รัตน์ ก. (2019). สมรรถนะในการปฏิบัติงานของหัวหน้างานสายการผลิตกับประสิทธิผล ขององค์การ บริษัท ผลิตน้าผลไม้กระป๋อง จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 9(2), 136. https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i2.214232