การใช้นาฏยประดิษฐ์ ชุดพฤกษศาสตร์โรงเรียน เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ของเยาวชน กรณีศึกษาโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)

ผู้แต่ง

  • นัจกร ผู้ทรงธรรม
  • กุสุมา เทพรักษ์

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i3%20SUP.214294

คำสำคัญ:

นาฏยประดิษฐ์, พฤกษศาสตร์โรงเรียน, พัฒนาความคิดสร้างสรรค์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของการใช้นาฏยประดิษฐ์ ชุดพฤกษศาสตร์โรงเรียน
เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของเยาวชน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นเยาวชนที่กาลังศึกษา
อยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/3 จานวน 34 คนภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนบดินทรเดชา
(สิงห์ สิงหเสนี) จานวน 1 ห้องเรียน ที่ได้มาจากการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม (Cluster Random
Sampling) โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยการสุ่ม โดยใช้กิจกรรมนาฏย-ประดิษฐ์บูรณาการร่วมกับเรื่อง
พฤกษศาสตร์โรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) แผนการจัดการเรียนรู้กิจกรรมนาฏย-ประดิษฐ์
2) แบบวัดความคิดสร้างสรรค์ 3) แบบประเมินความคิดสร้างสรรค์ผ่านการแสดงนาฏยประดิษฐ์ สถิติที่
ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วยค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที
(t-test) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis)
ผลการวิจัย พบว่า เยาวชนที่ได้เรียนรู้การใช้นาฏยประดิษฐ์ ชุดพฤกษศาสตร์โรงเรียนก่อน และ
หลังการใช้กิจกรรมนาฏยประดิษฐ์ มีการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ในภาพรวม ที่แตกต่างกัน อย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และพบว่า เยาวชนมีการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ในการสร้างสรรค์
ผลงานการแสดงนาฏยประดิษฐ์ ชุดพฤกษศาสตร์โรงเรียนในภาพรวมที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญ
ทางสถิติที่ระดับ .001

References

Davis, G.A. (1983). “Cognitive
Development and Language
Deverlopment” . Education
Psychology. New York: Randomhouse.
Department of Curriculum and Instruction
Development. (1992). Creativitytheories-
instructions-assessment
and evaluation. Bangkok: Ministry
of Education.
Department of Curriculum and Instruction
Development. (1999). The synthetic
form of development of
children’s cognitive skills in
Thailand. Bangkok: Religious
Affairs.
Gale, R.F. (1961). Developmental Behavior :
A Humanistic Approach. New York
: The Macmillam, 1960.
Horkuraruk, A. (2007). Education for
sustainable development in Thai
context. Bangkok: Thailand
Environment Institute.
Kittisaknawin, C. (2009). Trust in
organizations of Thailand:
Comparative study between
government and private
organization. (Doctoral dissertation)
Ramkhamhaeng University, Thailand.
Lipananon, J. (1996). Using a series of
training activities for teachers
dance with grade 4 (Master’s
thesis). Cahiang Mai University,
Thailand.
Malakul, P. (2002). Talent development.
(2nd ed.). Bangkok: Chulalongkorn
University.
Ministry of Education. (2009). The dasic
education core curriculum B.E.
2551 (A.D. 2008). Bangkok: The
Agricultural Co-operative Federation of
Thailand., LTD.
Ministry of Education. (2011). Quality
Assurance in Education. Bangkok:
Kurusapa Ladprao Printing Press.
Moonkham, S., & Moonkham, O. (2001).
Learning management: Creative
thinking development. (5th ed.)
Bangkok: Parbpim.
Petsri, W. (2009). The development of
an instructional model of dramatic
arts to enhance creative thinking
for primary level 2 students.
(Doctoral dissertation). Burapha
University, Thailand.
Praditsuktaworn, P. (n.d.). Arts. Retrieved
April 4, 2015, from http://taamkru.
com/th.
Ritruechai, O. (n.d.). The development
of creative intelligence. Retrieved
April 4, 2015, from edoffice.
kku.ac.th.
Torrance, E.P. (1965). Rewarding Creative
Behavior: Experiments in
Classroom Creativity.
Vessawasdi, P. (2004). Effects of
organizing movement and
rhythmic activities using creative
dance approach on kindergarteners’
creativity. (Master’s thesis).
Chulalongkorn University.
Wasi, P. (1998). Eaucation reform:
Intellectual enhancement for
survival. Bangkok: Sodsrisaritwong
Foundtion.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

03-09-2019

How to Cite

ผู้ทรงธรรม น., & เทพรักษ์ ก. (2019). การใช้นาฏยประดิษฐ์ ชุดพฤกษศาสตร์โรงเรียน เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ของเยาวชน กรณีศึกษาโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี). วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 9(3 SUP), 82. https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i3 SUP.214294