อำนาจนิยมจากบทบาทการแสดงของตัวละครในละครไทย
DOI:
https://doi.org/10.53848/irdssru.v9i3%20SUP.214298คำสำคัญ:
อำนาจ, การแสดง, ตัวละคร, ละครไทยบทคัดย่อ
งานวิจัยเรื่อง อานาจนิยมจากบทบาทการแสดงของตัวละครในละครไทย มีวัตถุประสงค์ คือ
1) เพื่อศึกษารูปแบบการแสดงบทบาทการใช้อานาจของตัวละครในละครไทย 2) เพื่อศึกษาลักษณะของ
อานาจในละครไทย งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเอกสาร ที่มีขั้นตอนการวิจัยคือ ศึกษาเอกสาร และสื่อวิดีโอ
จากละครโทรทัศน์ เรื่อง รักลวง ละครชุดคลับฟรายเดย์ ของช่องจีเอ็มเอ็ม 25 และวิเคราะห์เนื้อหา
เรียบเรียงและนาเสนอเชิงพรรณนา โดยมีผลการวิจัยดังนี้ 1) รูปแบบการแสดงบทบาทการใช้อานาจ
ของตัวละครในละครไทยพบได้ 2 ลักษณะ คือ 1.1) รูปแบบการใช้อานาจผ่านวัจนภาษาที่มิใช่อานาจ
โดยตรงที่นักแสดงใช้ในการสื่อสาร แต่เป็นอานาจของผู้เขียนบทละคร และ 1.2) รูปแบบการใช้อานาจ
ผ่านอวัจนภาษาประกอบด้วย 7 ลักษณะ คือ 1.2.1) สีหน้า 1.2.2) สายตา 1.2.3) ท่าทาง ร่างกาย
1.2.4) พื้นที่ ทั้ง ตาแหน่ง และ ระดับ1.2.5) ระยะ 1.2.6) เสียง และ 1.2.7) สิ่งของ และ 2) ลักษณะ
ของอานาจในละครไทย พบ2 ลักษณะ คือ 2.1) ชนิดของอานาจที่แสดงผ่านความสัมพันธ์ของตัวละคร
ประกอบด้วย 2.1.1) อานาจแนวดิ่ง ที่นักแสดง 1) แสดงผ่านความสัมพันธ์ในครอบครัว 2) แสดงผ่าน
ความสัมพันธ์ในที่ทางาน 3) แสดงผ่านความสัมพันธ์ในเรือนร่างและเพศ และ 2.1.2) อานาจแนวระนาบ
หรือแนวราบ ที่นักแสดงแสดงผ่านความสัมพันธ์ในที่ทางาน และ 2.2) วิธีการใช้อานาจมี 2 ลักษณะ คือ
2.2.1) การแสดงอานาจผ่านวัจนภาษาและอวัจนภาษา เพื่อให้ได้ตามความต้องการของตัวละคร และ
2.2.2) การขัดขืนและต่อต้านอานาจ ทั้งนี้พบสัดส่วนการแสดงอานาจมากกว่าการขัดขืนและต่อต้าน
อานาจ และเครื่องมือที่ใช้ในการต่อรองทางอานาจมากที่สุดของเรื่องนี้คือ เรือนร่างของมนุษย์
References
Bangkok: Wiphasa Publishing.
Kaewthep, K and Hinwiman, S. (2008).
Knowledge of the thinkers with
Political Economy and
Communication Study. Bangkok:
Phabphim Publishing.
Kururattana, P and Khaengphenkhae, N.
(2002). Creative Drama for
Kindergarten Students. Bangkok:
Teachers Council.
Maneewattana, C. (2007) Teaching
Materials of Performing Arts.
Bangkok: Fined and Applied Arts
Faculty, Suansunandha Rajabhat
University.
Phanthumakomon, S (1999). Performing
Arts(Modern Drama). (3rd ed).
Bangkok: Chulalongkorn University.
Rattanin, M. (1996) Basic Knowledge of
Performing Plays. Bangkok:
Thammasart University.
Sirikaya, N. (2002). The poetics of
Aristotle. Bangkok: Drama
,Chulalongkorn University.
Wiwatsorn, W. (1995). French Drama in
Eighteenth Century. Bangkok:
Chulalongkorn University.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว