ความรับผิดชอบต่อสังคม(CSR)ตามแนวคิดองค์กรสุขภาวะของ SMES ไทย ในมิติความร่วมมือภาครัฐร่วมเอกชน

ผู้แต่ง

  • ญาณัญฎา ศิรภัทร์ธาดา

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v7i2.214370

คำสำคัญ:

วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม; ความ รับผิดชอบต่อสังคม; องค์กรสุขภาวะ

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพ
ปัจจุบัน ของการจัดการ CSR ภายในองค์กรของ
ผู้ประกอบการ SMEs อุตสาหกรรมอาหารและการ
แปรรูปอาหาร 2) เพื่อศึกษา ผลกระทบของการ
จัดการ CSR ภายในองค์กรสำหรับสถานประกอบการ
SMEs อุตสาหกรรมอาหารและการแปรรูปอาหารแบบ
ภาครัฐร่วมเอกชน เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน
(Mixed Method Research) ระหว่างการวิจัยเชิง
ปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากรใน
การศึกษาคือ หน่วยงานภาครัฐ ผู้ประกอบการธุรกิจ
SMEs อุตสาหกรรมอาหารและการแปรรูปอาหาร การ
เก็บข้อมูลเชิงปริมาณใช้แบบสอบถาม สุ่มตัวอย่าง
ผู้ประกอบการแบบหลายขั้นตอน และวิเคราะห์ข้อมูล
โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ส่วน
การวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก (Indepth
interview) โดยใช้วิธีการเลือกตัวอย่างแบบ
เจาะจง (Purposive Sampling) การวิเคราะห์ข้อมูล
เชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัย
พบว่าภาครัฐควรจัดตั้งองค์กรอิสระที่มีโครงสร้างอย่าง
ชัดเจน สอดคล้องกับความต้องการของผู้ประกอบการ
ในการปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม มีกฎหมายเพื่อ
ควบคุมและคุ้มครองที่ยืดหยุ่นต่อบริบทความพร้อม
การพัฒนาและความเป็นไปได้ในการนำไปใช้

References

ขวัญเมือง แก้วดาเกิง และคณะ. (2553). รายงาน
สรุปผลการประเมินภายในแผนงานสุขภาวะ
องค์กรภาคเอกชน.แผนงานสุขภาวะองค์กร
ภาคเอกชน. สานักงานกองทุนสนับสนุนการ
สร้างเสริมสุขภาพ (สสส.).
ดวงเนตร ธรรมกุล (2554). โครงการจัดทาคู่มือ
สารวจสุขภาวะระดับองค์กร แผนงานสุข
ภาวะองค์กรภาคเอกชน. กรุงเทพมหานคร:
สานักงาน กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริม
สุขภาพ.
นิภา วิริยะพิพัฒน์.(2552). ก้าวทันกระแส CSR:
ความพร้อมสู่มาตรฐาน ISO 26000.
วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
29(3) : 195.
พันธ์ศักดิ์ เวชอนุรักษ์, 2554. ทิศทางและแนวโน้ม
CSR ปี 2554 “Reporting your CSR”
พิพัฒน์ ยอดพฤติการ.(2553).ตั้งไข่ให้ CSR การ
สำ รวจพฤติกรรม ทัศนคติของผู้บริโภค
เกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร
การธุรกิจในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร :
มหาวิทยาลัยธุรกิจ.
ภิรมย์ลักษณ์ โกสิลา. (2553). ความรู้ ทัศนคติ และ
การปฏิบัติเกี่ยวกับการสร้างความเป็น
หุ้นส่วนทางสังคม ในการจัดสวัสดิการแบบ
บูรณาการ กรณีศึกษาศูนย์บริการทางสังคม
แ บ บ มีส่ว น ร่ว ม . ก รุง เ ท พ ฯ :
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศาสตร์. (2555). การพัฒนาจิตต
ปัญญาในองค์กร. สานักงานกองทุนสนับสนุน
การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.). กรุงเทพฯ:
บริษัท เอ.พี.กราฟิคดีไซน์และการพิมพ์ จากัด.
สถาบันไทยพัฒน์. (2555). ซีเอสอาร์กับข้อตกลงโลก
10 ประการ. มูลนิธิบูรณะชนบทแห่งประเทศ
ไทยในพระบรมราชูปถัมภ์.
สุโข สิงห์คราม. 2553. โครงการพัฒนาธุรกิจเพื่อ
สังคมไทย “ธุรกิจรวยเพื่อน” (CSR-D)
สังคมร่มเย็น ธุรกิจยั่งยืน.
สุชาต ประสิทธิ์รัฐสินธุ์.2550. ระเบียบวิธีวิจัยทาง
สัง ค ม ศ า ส ต ร์ ( พิม พ์ค รั้ง ที่ 1 4 )
กรุงเทพมหานคร: เฟื่องฟ้า.
อุทัย ทิพ ย์ เ จี่ย วิวร รธน์กุล แ ละ คณะ .(2555) .
สร้างสรรค์สานฝันสู่องค์กรแห่งความสุข มอง
ผ่าน Happy 8 Menu. กรุงเทพฯ: บริษัท พี.
เอ. ลีฟวิ่ง จำกัด.
Burton, J. (2010). WHO Healthy Workplace
Framework and Model: Background
and Supporting Literature and
Practices. WHO.Headquarters, Geneva,
Switzerland.
Corbett, D. (2004). Excellence in Canada:
Healthy Organizations-Achieve
Results by Acting Responsibly.
Journal of Business Ethic. 55: 125- 133.
Cronbach, Lee. J. 1970. Essentials of
Psychological Testing. 3d ed. New
York : Harper & Row.
Dive, B. (2004). The healthy organization.
USA.: DMA Consultancy Limited.
Lowe, G. S. (2004). Healthy workplace
strategies: creating change and
achieving results. USA.: The Graham
Lowe Group Inc. 2004.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

03-09-2019

How to Cite

ศิรภัทร์ธาดา ญ. (2019). ความรับผิดชอบต่อสังคม(CSR)ตามแนวคิดองค์กรสุขภาวะของ SMES ไทย ในมิติความร่วมมือภาครัฐร่วมเอกชน. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 7(2), 69. https://doi.org/10.53848/irdssru.v7i2.214370