การใช้หลักพรหมวิหาร 4 ในการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารตามการรับรู้ของครู : กรณีศึกษาโรงเรียนศรีวิกรม์และวิทยาลัยเทคโนโลยีศรีวิกรม์บริหารธุรกิจ

ผู้แต่ง

  • ณัฐทพัสส์ หินไชยศรี

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v6i1.214439

คำสำคัญ:

พรหมวิหาร4, การบริหารสถานศึกษา, ผู้บริหาร, ครู

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการใช้หลักพรหมวิหาร 4 ในการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารตามการรับรู้ของครูโรงเรียนศรีวิกรม์และวิทยาลัยเทคโนโลยีศรีวิกรม์บริหารธุรกิจ 2) เพื่อเปรียบเทียบการใช้หลักพรหมวิหาร 4 ในการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารตามการรับรู้ของครูโรงเรียนศรีวิกรม์และวิทยาลัยเทคโนโลยีศรีวิกรม์บริหารธุรกิจ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นครูในโรงเรียนศรีวิกรม์ จานวน 86 คนและครูในวิทยาลัยเทคโนโลยีศรีวิกรม์บริหารธุรกิจ จานวน 50 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) การใช้หลักพรหมวิหาร 4 ในการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารตามการรับรู้ของครูภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านมุทิตา รองลงมาคือ ด้านกรุณา ด้านเมตตาและลาดับสุดท้ายคือ ด้านอุเบกขา 2) ครูโรงเรียนศรีวิกรม์และครูวิทยาลัยเทคโนโลยีศรีวิกรม์บริหารธุรกิจ มีการรับรู้ต่อการใช้หลักพรหมวิหาร 4 ในการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารแตกต่างกัน โดยครูวิทยาลัยเทคโนโลยีศรีวิกรม์บริหารธุรกิจ มีการรับรู้ต่อการใช้หลักพรหมวิหาร 4 ในการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหาร สูงกว่าครูโรงเรียนศรีวิกรม์

References

กมลวัฒน์ ยะสารวรรณ. (2547). การรับรู้กฎระเบียบขอพนักงานท่าเรือแหลมฉบัง .กรุงเทพมหานคร : พิมพ์ลักษณ์การพิมพ์
กระทรวงศึกษาธิการ.(2546). คุณธรรมและจิตสานึกของข้าราชการครู. พิมพ์ครั้งที่ 5.กรุงเทพมหาคร:กระทรวงศึกษาธิการ.
คาภา สิมบิดา. พระปลัด (2552). การใช้หลักพรหมวิหาร 4 ในการบริหารงานของผู้บริหารโรงเรียน ตามความคิดเห็นของครูโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษาในกลุ่ม 7. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา :มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย.
บุญเรียง ขจรศิลป์, (2545), สถิติวิจัย1. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: พี.เอ็น.การพิมพ์.
บัณฑิต เผ่าวัฒนา. (2548). การประเมินผลการฝึกอบรมคณะกรรมการบริหารศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจาตาบลในภาคเหนือ.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา.เชียงใหม่.
ปรีชา อยู่ภักดี. (2551). การศึกษาการปฏิบัติตนตามคุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของข้าราชการครูและกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาชัยภูมิเขต 3. วิทยานิพนธ์ ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ.
พระธรรมปิฏก. (ป.อ.ประยุทธ ปยุตโต). (2546). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.
พระพรหมคุณาภรณ์. (ป.อ.ประยุทธ ปยุตโต). (2551). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 15. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ เอส.อาร์ พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์.
วิจิตร ศรีสะอ้าน.(2544). หลักและระบบบริหารการศึกษา.นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช.
วิชัยรัตน ศิริวนิชย์. (2554) .หลักธรรมพรหมวิหาร 4 ,online Avanlable: www.npc-se.co.th.23 ก.พ.2554.
วิเชียร บุญกล้า. (2550) .การศึกษาการใช้หลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารสถานศึกษาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุรินทร์ เขต 3. บัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย.
วีระ ขุนอาจ. (2551) .ความคิดเห็นของครูเกี่ยวกับการนาหลักพรหมวิหาร 4 ไปใช้ในการบริหารงานของผู้บริหารโรงเรียนในศูนย์เครือข่ายอุบลรัตน์ อาเภออุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น. สารนิพนธ์ปริญญาศาสนศาสตรมหาบัณฑิต,บัณฑิตวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.

ศรีวิกรม์, โรงเรียน, แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2554 -2558) :กรุงเทพฯ.
ศรีวิกรม์บริหารธุรกิจ. (2554).โรงเรียน,รายงานคุณภาพการศึกษาประจาปีของสถานศึกษาเอกชน ประเภทอาชีวศึกษา: กรุงเทพฯ.
สุรพล เครือมโนรมย์. (2551). การใช้หลักพุทธธรรมในการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดเทศบาลนครเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2543). แนวทางการปฏิรูปการศึกษาแห่งชาติระดับอุดมศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2543. กรุงเทพมหานคร.
Bernstein. D. A. (1999). Essentials of Psychology. Boston : Houghton Mifflin Company.
Katz.Robert L.(1974,September-October). Skill of AN Effective Administrator. Harward Business Review.
Quinn,Virginia Nichols. (1985). Applying Psychology Simgapore : McGraw-Hill Book Company.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

04-09-2019

How to Cite

หินไชยศรี ณ. (2019). การใช้หลักพรหมวิหาร 4 ในการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารตามการรับรู้ของครู : กรณีศึกษาโรงเรียนศรีวิกรม์และวิทยาลัยเทคโนโลยีศรีวิกรม์บริหารธุรกิจ. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 6(1). https://doi.org/10.53848/irdssru.v6i1.214439