ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการส่งเสริมการขายและแรงจูงใจซื้อ อินเทอร์เน็ตเคลื่อนที่ 4G
DOI:
https://doi.org/10.53848/irdssru.v8i2.214443คำสำคัญ:
รูปแบบการส่งเสริมการขาย, แรงจูงใจซื้อ, อินเทอร์เน็ตเคลื อนที 4G, อินเทอร์เน็ตประจ่าทีบทคัดย่อ
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื อ (1) ศึกษารูปแบบการส่งเสริมการขายที มีผลให้ลูกค้าอินเทอร์เน็ตประจ่าที ใช้บริการอินเทอร์เน็ตเคลื อนที 4G (2) ศึกษาแรงจูงใจซื้อที มีผลให้ลูกค้าอินเทอร์เน็ตประจ่าที ใช้บริการอินเทอร์เน็ตเคลือนที 4G (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการส่งเสริมการขายและแรงจูงใจซื้ออินเทอร์เน็ตเคลื อนที 4G (4) ศึกษารูปแบบการส่งเสริมการขายและแรงจูงใจซื้ออินเทอร์เน็ตเคลือนที 4G จ่าแนกตามลักษณะลูกค้า ได้แก่ ระยะเวลาการเป็นลูกค้าอินเทอร์เน็ตประจ่าทีแพ็คเกจของอินเทอร์เน็ตประจ่าที ที ใช้บริการ และเครือข่ายของโทรศัพท์เคลื นทีที ใช้บริการ โดยมีกลุ่มตัวอย่างคือ ลูกค้าอินเทอร์เน็ตประจ่าที จ่านวน 400 คน ในระหว่างวันที 11-21 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2559 ท่าการเก็บข้อมูลโดยการฝากแบบสอบถามออนไลน์ที เว็บไซต์ www.pantip.com ในห้องสินธร ห้องมาบุญครอง และห้องซิลิคอนวัลเลย์ ท่าการวิเคราะห์ผลการศึกษาโดยใช้ วิธีทางสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี ร้อยละ ค่าเฉลี ยเลขคณิต (Mean) ค่าส่วนเบี ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และค่าสถิติอนุมานที ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ t-test และ χ2-test ที ระดับนัยส่าคัญ
ทางสถิติ 0.05 ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างโดยส่วนใหญ่มีระยะเวลาการเป็นลูกค้าอินเทอร์เน็ตประจ่าที มากกว่า 2 ปีขึ้นไป ใช้บริการแพ็คเกจอินเทอร์เน็ตประจ่าที ADSL และใช้บริการเครือข่าย AISด้านรูปแบบการส่งเสริมการขาย พบว่ากลุ่มตัวอย่างให้ระดับความส่าคัญการแจกตัวอย่างสินค้าและการลดราคาในระดับมาก ด้านแรงจูงใจซื้อพบว่ากลุ่มตัวอย่างให้ระดับความส่าคัญแรงจูงใจที เกิดจากเหตุผล แรงจูงใจที เกิดจากอุปถัมภ์ร้านค้า และแรงจูงใจที เกิดจากตัวผลิตภัณฑ์ในระดับมากผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่ารูปแบบการส่งเสริมการขายและแรงจูงใจซื้ออินเทอร์เน็ตเคลื อนที 4G
จ่าแนกตามลักษณะลูกค้าอินเทอร์เน็ตประจ่าที มีระดับความส่าคัญแตกต่างกัน และรูปแบบการส่งเสริมการขายมีความสัมพันธ์กับแรงจูงใจซื้ออินเทอร์เน็ตเคลื อนที 4G
References
Technology by Network Providers.
Bangkok: Sripatum University.
Chanvanittakoon, M. (2013). The Effect of
Corporate Image, Consumer’s
Satisfaction and Motivation on the
Consumer’s Tendency of
Consumer’s Technology 3G Usage
Behavior Providing by Current
Providers: A Case Study of Bangkok
Consumer. Bangkok: Srinakharinwirot
University.
Chi, H., and Lai, Y. (2015). “The Influence of
4G Mobile Value Added Services on
Usage Intention: TheMediating Effect of
Perceived Value of Smartphone and
Phablet”. International Journal of
Marketing Studies. Taiwan: Canadian
Center of Science and Education, 50-
60.
Moungkeaw, A. (2011). Innovation, Motive
and Marketing Communication
Influencing Users Decision Trend on
3G Mobile Phone in Bangkok
Metropolitanarea. Bangkok:
Srinakharinwirot University.
Sobbizadeh, H. (2010). Mobile Broadband: A
Market Research. Thesis for Master of
Business Administration in Marketing
Management. Sweden: University of
Gävle.
Tungchonjumrut, N. (2014). Consumers’
Demand to use 3G Services in
Bangkok. Bangkok: Rungsit University.
Wanitbancha, K. (2012). SPSS for Windows to
Analysis Data. (20thed). Bangkok:
Chulalongkorn University.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว