วิถีชุมชนกับการสืบทอดภูมิปัญญาเครื่องปั้นดินเผาในเขตลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา

ผู้แต่ง

  • ภานุ พัฒนปณิธิพงศ์
  • พฤทธิ์ ศุภเศรษฐศิริ
  • อำนาจ เย็นสบาย
  • สาธิต ทิมวัฒนบัณเทิง

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v8i2.214447

คำสำคัญ:

วิถีชีวิตชุมชนการสืบทอดภูมิปัญญา, เครื่องปั้นดินเผา, ลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาชนะดินเผากับวิถีชีวิตชุมชนการสืบทอดภูมิปัญญา และ การบริหารจัดการของชุมชนเครื่องปั้นดินเผาในเขตลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา
วิธีดาเนินการวิจัย ใช้วิธีวิจัยเชิงพรรณนาวิเคราะห์ ศึกษารวบรวมข้อมูลเอกสารและภาคสนามในพื้นที่ผู้ให้ข้อมูลใช้วิธีการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง คือ ผู้ผลิตเครื่องปั้นดินเผามีประสบการณ์นานกว่า 10 ปี ใน 4 ชุมชน ได้แก่ ชุมชนบ้านมอญ ตาบลบ้านแก่ง อาเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ ชุมชนบ้านโคกหม้อ ตาบลเชิงกลัด อาเภอบางระจัน จังหวัดสิงห์บุรี ชุมชนบ้านคลองสระบัว ตาบลคลองสระบัว อาเภอเมืองพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และชุมชนเกาะเกร็ด ตาบลเกาะเกร็ด อาเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรีรวมจานวน 16 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์โดยใช้แบบสัมภาษณ์เจาะลึก สนทนากลุ่มย่อย และการสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วมและไม่มีส่วนร่วม วิเคราะห์เนื้อหา จัดจาแนกข้อมูล รายประเด็น และการรังสรรค์วิทยา
ผลวิจัยพบว่า ชุมชนเครื่องปั้นดินเผาในเขตลุ่มแม่น้าเจ้าพระยามีอัตลักษณ์เฉพาะชุมชน วิถีชีวิตของผู้ทาเครื่องปั้นดินเผามีความผูกพันกับประวัติศาสตร์ชุมชนและพัฒนาการเครื่องปั้นดินเผามีคติ ความเชื่อพิธีกรรมในการทาเครื่องปั้นดินเผาจากรุ่นสู่รุ่น รูปแบบภาชนะมีความเชื่อมโยงสัมพันธ์กับ ภูมิปัญญาเครื่องปั้นดินเผา และการบริการจัดการของชุมชนมีพลังแห่งความสามัคคี เอื้อเฟื้อแบ่งปันกันในชุมชนที่จะรักษาทรัพยากรสิ่งแวดล้อมของชุมชนการสืบทอดภูมิปัญญาเครื่องปั้นดินเผาในเขตลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา พบว่า ผู้ถ่ายทอดและสืบทอดภูมิปัญญามีวิธีการและมีความตระหนักถึงภูมิปัญญา 10 ประการ ได้แก่ สภาพแวดล้อม ประสบการณ์ การเรียนรู้ ความรู้ ภูมิปัญญา ความรัก แสวงหา กล้าและอดทน สร้างสรรค์ และสานึก

References

Komol Rukwong. (1995). Research kiln and
pottery River to conserve and
preserve the arts and Antiquities of
singburi. Department of pottery.
Faculty of Industrial Technology
Rajabhat Institute.
Ministry of Culture. (2009). Culture Thailand.
Bangkok: Amarin Printing And
Publishing.
National Social and Economic Development
Plan No. 11 (2012-2016 BC).
Phisan Boonphlook. (2012). Nonthaburi
pottery. Nonthaburi: Department of
Informatics, University of Sukhothai
Thammatirat Kingdom.
Phoa Leangsook. (2014). Interview with Mr.
Panu Pattanapanithipong on
December 24, 2014.
Poramint Jarworn. (2016). Folklore tour.
Cultural Village of Nhongkhao
culture community Karnchanaburi.
Bangkok: Printing Chulalongkorn
University.
Praphatsorn Sewikul. (2005). From Houngho
to Chao Praya. Bangkok: Amarin
Printing And Publishing.
Rosjana Chandhasa. (2015). Vetiver handicraft
products Lue ethnic identity, cultural
study of Phayao. Research and
development Soun Sunandha
Rajabhat university. Bangkok: A great
wit. 7 No. 1 last year from January to
June 2015. Pages 15-48.
Sayan Praichanjitr. (2008). Archaeological
wares Siam Kiln Nan and Phayao.
Nakhonphathom: Research and
development. Silpakorn University.
Srisak Wanliphodom. (2012). Social river
basins: the development and
transformation. Lek - Praphai
Wiriyapan Foundation. [Online].
Retrieved on 25 March 2558.
Access from http: // www. Lekprapai.
org/.
Strategic Research of No. 8 (2012 to 2016
BC.)
Winai Rodjay. (2001). The culture of
historical development Identity
and wisdom of singburi. Bangkok:
Bangkok teachers.
Wiroon Tangcharean. (2009). Vision and
Culture series Yasujiro key
element. Bangkok: Srinakharinwirot
University.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

04-09-2019

How to Cite

พัฒนปณิธิพงศ์ ภ., ศุภเศรษฐศิริ พ., เย็นสบาย อ., & ทิมวัฒนบัณเทิง ส. (2019). วิถีชุมชนกับการสืบทอดภูมิปัญญาเครื่องปั้นดินเผาในเขตลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 8(2), 43. https://doi.org/10.53848/irdssru.v8i2.214447