หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาอย่างยั่งยืนและสมดุล ในปริมณฑลโลกาภิวัตน์:หนทางรอดจากผลกระทบของการพัฒนาที่ไม่ยั่งยืนและไม่สมดุล

ผู้แต่ง

  • พรศักดิ์ ธรรมนิมิตร์

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v6i1.214449

คำสำคัญ:

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง, การพัฒนาที่ยั่งยืน, การพัฒนาที่สมดุล, ปริมณฑลโลกาภิวัฒน์

บทคัดย่อ

            บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจะวิพากษ์การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในอดีตที่ผ่านมาว่าได้เกิดปัญหาการพัฒนาที่ไม่ยั่งยืนและไม่สมดุล และได้เสนอแนวทางการพัฒนาโดยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงซึ่งเป็นหนทางรอดของการพัฒนาที่ยั่งยืนและสมดุลใน “ปริมณฑลโลกาภิวัตน์” โดยการสังเคราะห์แนวคิดการพัฒนาที่อยู่เบื้องหลังแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปรียบเทียบกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

References

กฤช เพิ่มทันจิตต์. (2543). ทฤษฎีและแนวความคิด เกี่ยวกับกระบวนการเกิดเป็นเมือง
สมุทรปราการ. สมุทรปราการ: ศรีบุญอุตสาหกรรมการพิมพ์.
จุฑาทิพย์ มณีพงษ์. (2551). ชนบทและเมือง เศรษฐศาสตร์การพัฒนา. นนทบุรี: สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
บุญคง หันจางสิทธิ์. (2550). เศรษฐศาสตร์มหภาค. กรุงเทพมหานคร: โอเอสพริ้นติ้งเฮ้าส์.
ปรีชา เปี่ยมพงศ์สานต์, กาญจนา แก้วเทพ และกนกศักดิ์ แก้วเทพ. (2549). วิถีใหม่แห่งการพัฒนา:วิธีวิทยาศึกษาสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปิยะศิริ เรืองศรีมั่น. (2547). โครงสร้างเศรษฐกิจไทย ไทยในเศรษฐกิจโลก. นนทบุรี:
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
วิวัฒน์ชัย อัตถากร. (2553). เศรษฐกิจการเมืองไทย2544-2553ยุคห้านายก. กรุงเทพมหานครฯ: โรงพิมพ์เดือนตุลา.
อาคม เติมพิทยาไพสิฐ และวิโรจน์ นารารักษ์. (2551). การวางแผนเศรษฐกิจมหภาค เศรษฐศาสตร์การ
พัฒนา. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

04-09-2019

How to Cite

ธรรมนิมิตร์ พ. (2019). หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาอย่างยั่งยืนและสมดุล ในปริมณฑลโลกาภิวัตน์:หนทางรอดจากผลกระทบของการพัฒนาที่ไม่ยั่งยืนและไม่สมดุล. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 6(1). https://doi.org/10.53848/irdssru.v6i1.214449