พฤติกรรมการบริโภคขนมไทยของคนที่อาศัยอยู่ในจังหวัดกรุงเทพมหานคร

ผู้แต่ง

  • ภูริชา กรพุฒินันท์
  • ชุติมาวดี ทองจีน

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v8i2.214464

คำสำคัญ:

พฤติกรรมการบริโภคขนมไทย รูปแบบการดาเนิน ทัศนคติ ส่วนประสมทางการตลาด กรุงเทพ

บทคัดย่อ

การวิจัยศึกษาปัจจัยด้านรูปแบบการดาเนินชีวิต ทัศนคติ และส่วนประสมทางการตลาดส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคขนมไทยของคนไทยในจังหวัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างคือกลุ่มคนทั่วไปที่มีอายุ 16 ปีขึ้นไปในกรุงเทพมหานคร ทั้งเพศชาย และเพศหญิง จานวน 400 ตัวอย่าง ผลการวิจัยพฤติกรรมการบริโภคขนมไทย พบว่า มีค่าใช้จ่ายในการเลือกซื้อขนมไทยต่อครั้ง มากสุด 151 - 200 บาท ประเภทของขนมไทยส่วนใหญ่นิยมประเภทสุกด้วยการกวน และประเภทสุกด้วยการทอด ส่วนใหญ่ที่ชอบคือข้าวเหนียวสังขยา ปัจจัยด้านรูปแบบการดาเนินชีวิต ปัจจัยทัศนคติ และปัจจัย ด้านส่วนประสมทางการตลาดมีความสาคัญอยู่ในระดับมาก ผลการทดสอบสมมุติฐาน สรุปได้ว่า รูปแบบการดาเนินชีวิต ทัศนคติต่อขนมไทย และปัจจัยส่วนประสมการตลาด มีอิทธิพลเชิงบวกต่อพฤติกรรมการบริโภคขนมไทย โดยรูปแบบการดาเนินชีวิตสามารถอธิบายอิทธิพลที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคขนมไทย ได้ร้อยละ 20.10 ทัศนคติต่อขนมไทยสามารถอธิบายอิทธิพลที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคขนมไทย ได้ร้อยละ 21.20 และส่วนประสมการตลาดขนมไทย ด้านการจัดจาหน่ายมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริโภคขนมไทย สูงสุด รองลงมา ด้านราคา และ ด้านผลิตภัณฑ์ ตามลาดับ อธิบายอิทธิพลที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคขนมไทย ได้ร้อยละ 48.40 และจากการทดสอบสมมุติฐานและผลการวิจัยในด้านต่าง ๆ สรุปได้ว่า รูปแบบการดาเนินชีวิต ทัศนคติต่อขนมไทย และ ปัจจัยส่วนประสมการตลาด มีอิทธิพลเชิงบวกต่อพฤติกรรมการบริโภคขนมไทย

References

Attamana, S. (1998). Organization
Behaviour: Theory and Apply (1st
ed.). Bangkok: Thammasat
University.
Baray, S. (2012). Marketing Factor
Influence Selection to Use Spa
Service in Thailand of Chinese
Tourists: Case Study of Phuket
Province. Thesis, Master Degree,
Phuket Rajabhat University.
Gibson, James L. (2000). Organization:
Behavior, Structure, Process (10th
ed.). Boston: McGrow – Hill.
Gibson, James L. (2000). Organization:
Behavior, Structure, Process (10th
ed.). Boston: McGrow – Hill.
Inspection & Evaluation Bureau, Office of
the Permanent Secretary, Ministry
of Culture. n. d. Survey Results of
Children Youth and People
towards Thai Desserts. Search
from http://goo.gl/RMXcTN.
Jaturongkakul, A. (2000). Marketing
Strategy. (2nd ed). Bangkok:
Thammasat University.
Kotler, Philip. (2000). Marketing
Management Millenium Edition.
New Jersey: Prentice-Hall.
Kotler, Philip. (2000). Marketing
Management Millenium Edition.
New Jersey: Prentice-Hall.
Kusolpibal, M. (2012). Marketing Mix
Influence Behaviour to Use
Service of Fresh Coffee of
Consumers in Muang District,
Ratchaburi Province. Thesis,
Master Degree, Siam University.
Lhomprakon, J. & Premthongsuk, P.
(2012). Lifestyle of Working
Women in Bangkok. Thesis,
Master Degree, Silpakorn University.
Mongkolvanich, C. & Chattiwong, R.
(2014). Image of Thai Desserts in
Thai Youths to Study Attitude of
Youths towards Image of Thai
Desserts. Krasaewattanatham,
15(27), 39-50.
National Statistical Office. (2009). Survey
of Behaviour in Taking Care of
Health of People Year 2009
(Consumption Behaviour), Search
from http://goo.gl/6wU4ze.
Pattanajiraruj, R. (2014). Lifestyle. Search
from
http://poundtv5.blogspot.com/.
Ramkhamhaeng University Central Library.
(2011). Desserts. Search from
http://goo.gl/KkORwJ.
Rittakorn, P. (2009). Thai Desserts’
Consumption Behaviour: Case
Study of Chiengmai University
Students. Independent Study.
Master Degree, Chiengmai
University.
Sattaporn. (2556). ที่มาของขนมไทย. สืบค้น
จ า ก https://sattaporn.wordpress.
com/.
Sattaporn. (2013). Source of Thai
Dessert. Search from
https://sattaporn.wordpress.com/.
Schiffman, L. G. & Kanuk, L. L. (2007).
Consumer decision making and
beyond: Consumer behavior (9th
ed.). New Jersey: Pearson Prentice
Hall.
Serirut, S. (2003). Modern Marketing
Management. Bangkok:
Dhammasarn.
Serirut, S. et al. (1998). Business
Research. Bangkok: Petcharutsaeng
haeng lokdhurakit.
Strategy & Evaluation Department. (2014).
Number of Population in
Bangkok. Search from
http://www.bangkok.go.th/sed.
Ungkidakarn, N. (2011). Buying Behavior
and Marketing Factor to Use for
Decision to Purchase Perfume of
Undergraduate Students in
Bangkok. Independent Study,
School of Economic, Chiengmai
University.
Varanil, S. (2011). Lifestyle & Marketing
Mix Influence to Behaviour of
Consumers in Pakklongtarad
Market. Thesis, Master Degree,
Silpakorn University.
Yamane, Taro. (1967). Statistics: An
Introductory Analysis (2nd ed.).
New York: Harper and Row.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

04-09-2019

How to Cite

กรพุฒินันท์ ภ., & ทองจีน ช. (2019). พฤติกรรมการบริโภคขนมไทยของคนที่อาศัยอยู่ในจังหวัดกรุงเทพมหานคร. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 8(2), 81. https://doi.org/10.53848/irdssru.v8i2.214464