แนวทางการจัดตั้งตลาดนัดชุมชนเพื่อการพึ่งตนเองของ ชุมชนหมู่บ้านห้วยโค้ง ตาบลยางเปียง อาเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่

ผู้แต่ง

  • อนุรัตน์ ไชยปิน
  • เกรียงศักดิ์ ศรีเงินยวง
  • อภินันท์ สุวรรณรักษ์
  • ขนิษฐา เสถียรพีระกุล

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v8i2.214482

คำสำคัญ:

ชุมชนกระเหรี่ยง, สินค้าประเภทอาหาร, ตลาดนัดชุมชน

บทคัดย่อ

ในชุมชนกะเหรี่ยง ตลาดนัดชุมชน เป็นสิ่งแปลกใหม่ที่ไม่เคยเกิดขึ น เนื่องจากในชุมชนดังกล่าวยังใช้ระบบการแลกเปลี่ยนสินค้าแบบดั งเดิม ไม่มีการรวมกลุ่มเพื่อขายแบบเป็นระบบตลาด ท้าให้ การกระจายสินค้าจากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภคท้าได้อย่างยากล้าบาก กระจายอยู่ในพื นที่จ้ากัด ดังนั น การวิจัยครั งนี มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความต้องการบริโภค อุปโภคสินค้าของชุมชนหมู่บ้านห้วยโค้ง และ 2) เพื่อศึกษาแนวทางในการจัดตั งตลาดนัดชุมชนเพื่อการพึ่งตนเองของชุมชนหมู่บ้านห้วยโค้ง จ้านวน 6 หมู่บ้านในพื นที่ลุ่มน้าขุนแม่หาดตอนบน ได้แก่หมู่บ้านห้วยโค้ง หมู่บ้านปิตุคี หมู่บ้านแม่แฮหลวง หมู่บ้านแม่แฮน้อย หมู่บ้านขุนหาด และหมู่บ้านห้วยตองหลวง ประชากรศึกษาจ้านวน 305 ครัวเรือน ผลการศึกษาได้ท้าการทดลองเปิดตลาดนัดชุมชน เพื่อให้เกิดการกระจายสินค้าจากผู้ผลิตไปถึงผู้บริโภคได้โดยง่าย โดยใช้อาหารที่สามารถผลิตได้จากชุมชนผ่านการส่งเสริมจากหน่วยงานต่าง ๆ เป็นสินค้าหลักในการซื อ-ขาย ท้าการเก็บข้อมูล มูลค่า ปริมาณ และจ้านวนผู้ซื อสินค้าในตลาดนัดชุมชน เปรียบเทียบกับปริมาณความต้องการอาหารจากปริมาณการบริโภคโดยปกติในชุมชนเพื่อหาสัดส่วน การทดแทนด้านอาหาร และพฤติกรรมการซื ออาหารเพื่อใช้ในการบริโภคของชุมชน พบว่า มีการตอบรับที่ดีทั งจากภายในชุมชน และชุมชนใกล้เคียง มีผู้ให้ความสนใจเดินทางมาจับจ่ายซื อสินค้า 2,445 ครั ง เฉลี่ยครั งละ 611.25 (± 107.78 S.D.) ครั งต่อการเปิดตลาดนัด (จากการทดลองเปิดตลาดนัดชุมชน 4 ครั ง) มีผู้ขายสินค้าจากแต่ละชุมชนรวมทั งสิ น 14 ราย มีสินค้าประเภทอาหาร ประเภทผักสด เนื อหมู เนื อปลา และเนื อไก่เป็นหลัก มีมูลค่าหมุนเวียนในตลาดเฉลี่ยคราวละ 34, 725 (± 6, 229.48 S.D.) บาท และชุมชนมีแนวทางในการจัดตั งตลาดนัดชุมชน 3 รูปแบบคือ 1) ตลาดนัดกลางชุมชน 2) ตลาดนัดเฉพาะในหมู่บ้านที่อาศัยอยู่ 3) ตลาดนัดกึ่งถาวรตามเส้นทางการสัญจรผ่านของชุมชน

References

Apinun Suvarnaraksha. (2008) Conservation
and breeding of Thai native fishes
for protein source to rural Hill tribe
people in mountainous area of
Omkoi District, Chiangmai province.
Full report. National science and
technology development agency
northern region. Faculty of fisheries
and aquatics resources. Maejo
university. Chiangmai. [in Thai].
Apinun Suvarnaraksha. (2012) Protein
Sources Security from Aquatic
Animals for Hill Tribe People and
Conservation for Highland
Population. Full report. National
science and technology development
agency northern region. Faculty of
fisheries and aquatics resources. Maejo
university. Chiangmai. [in Thai].
Hyden G. (2014). The Economy of
Affection:Vanishing or Still Alive?. In
Rural Development and Moral
Economy in Globalizing Africa: From
Comparative Perspectives.
Proceeding on 6th International
Conference on African Moral Economy
Africa (26-28 August 2013,Fukui Japan).
3-21.
Hyden G. (2014). The Economy of
Affection:Vanishing or Still Alive?. In
Rural Development and Moral
Economy in Globalizing Africa: From
Comparative Perspectives.
Proceeding on 6th International
Conference on African Moral Economy
Africa (26-28 August 2013,Fukui Japan).
3-21.
Kiat jivakul, chaturon vatthanaphasook,
Suwattana Thadaniti, Kwansuang
Atibodhi, Chompoonut Nakeerak,
Netnaphit Nakkhawatchara. (1982).
Market in Bangkok: Extension and
development. Bangkok.
Chulalongkorn University. [in Thai].
Matsumura Keiichiro. (2009). ‘Turning Wealth
into Cash or Gift?. Negotiating
Morality in Highland Ethiopia’ in
Comparative Perspectives on Moral
Economy: Africa and Southeast Asia.
Proceeding on 3rd International
Conference on Moral Economy of
Africa (7-9 October,2006,Fukui Japan).
181-186.
Matsumura Keiichiro. (2009). ‘Turning Wealth
into Cash or Gift?. Negotiating
Morality in Highland Ethiopia’ in
Comparative Perspectives on Moral
Economy: Africa and Southeast Asia.
Proceeding on 3rd International
Conference on Moral Economy of
Africa (7-9 October,2006,Fukui Japan).
181-186.
Office of the National Economics and
Social Development Board.
(2004).strategic of informal
economy management.(online) In
annual conference on informal
economy and government
management. 24 june 2004. Impact
arena, Mueang Thong Thani. Access
on 7 july 2004.
http://www.nesdb.go.th/Portals/0/n
ews
/annual_meet/47/present/presenta
tion_01Pdf. [in Thai].
Siriwan Serirat. (2003). retailing
management. Bangkok.
Dhammasarn. [in Thai].
Sudaduang Ruengrujira. (2000). Principle
of marketing. (9th ed). Bangkok.
Yongpol Trading. [in Thai].
Sujaritlak Deepadung and Sarinya
Khammuang. (1997). Encyclopedia
of ethnic groups in thailand :
Pwo Karen. Bangkok.
Sahadhammika. [in Thai]
Suwida Thammaneewong. (2014). Moral
economy and alternative
business. Veridian E-Journal:
international humanities social
sciences and art. , Silpakorn
University Vol 7. No 3. 1041 - 1054.
[in Thai].
Tanansak Weigsarawin. (1990). Ju-Ta-Ou;
Food belief and practice of
Karens; An Ethnographic case
study of Dietary pattern in
Bankleuw community, Danchang,
Suphanburee. Master’s thesis.
Anthropology. Graduate school.
Silpakorn University. [in Thai].
Uruwan Yamborisut. (1993). Factors
influencing obesity in school
children in Bangkok Metropolitan
Area. Siriraj Hospital Gazette, Vol.
45, No. 11. 759-769. [in Thai].
Vina Viravaidhya and Sahar Damapong.
(1998) . The Behavior of Food
Consumption. Nonthaburi
Province. Bureau of Nutrition,
Ministry of Public Health. [in Thai].

Downloads

เผยแพร่แล้ว

04-09-2019

How to Cite

ไชยปิน อ., ศรีเงินยวง เ., สุวรรณรักษ์ อ., & เสถียรพีระกุล ข. (2019). แนวทางการจัดตั้งตลาดนัดชุมชนเพื่อการพึ่งตนเองของ ชุมชนหมู่บ้านห้วยโค้ง ตาบลยางเปียง อาเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 8(2), 124. https://doi.org/10.53848/irdssru.v8i2.214482