ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าฉลากคาร์บอน ในอาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

ผู้แต่ง

  • อัญชณา คุ้มญาติ
  • ขนิษฐา เสถียรพีระกุล
  • วราภรณ์ ปัญญาวดี
  • เก นันทะเสน

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v8i2.214504

คำสำคัญ:

สินค้าฉลากคาร์บอน, การตัดสินใจซื้อ, แบบจาลองถดถอยโลจิสติก, เชียงใหม่

บทคัดย่อ

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนาเสนอปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าฉลากคาร์บอนในเขตอาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ โดยการใช้แบบจาลองถดถอยโลจิสติก (Logistic regression) ผลการสารวจกลุ่มตัวอย่างผู้บริโภค จานวน 400 ตัวอย่าง พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 21 – 40 ปี มีการศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี ประกอบอาชีพรับจ้าง มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 16,717 บาท และไม่รู้จักสินค้าฉลากคาร์บอน ร้อยละ 69.75 ส่วนในการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อ การตัดสินใจของผู้บริโภคในการเลือกซื้อสินค้าฉลากคาร์บอนหลังจากได้รับข้อมูลเกี่ยวกับสินค้า ฉลากคาร์บอนแล้ว พบว่า ปัจจัยที่มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น ร้อยละ 95 ประกอบด้วย (1) ผู้บริโภคที่เป็นเพศชายมีความน่าจะเป็นที่จะตัดสินใจในการเลือกซื้อสินค้าฉลากคาร์บอนเพิ่มมากขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับผู้บริโภคที่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 8.94 (2) ผู้บริโภคที่มีรายได้เพิ่มขึ้นหนึ่งร้อยบาทจาก รายได้เฉลี่ยของผู้บริโภคกลุ่มตัวอย่างมีความน่าจะเป็นในการตัดสินใจในการเลือกซื้อสินค้าฉลากคาร์บอน ไม่เปลี่ยนแปลง (3) ผู้บริโภคที่มีความรู้เกี่ยวกับสินค้าฉลากคาร์บอนมีความน่าจะเป็นที่จะตัดสินใจใน การเลือกซื้อสินค้าฉลากคาร์บอนเพิ่มมากขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับผู้บริโภคที่ไม่มีความรู้ด้านฉลากคาร์บอน ร้อยละ 4.00 (4) เมื่อผู้บริโภคมีทัศนคติที่ดีต่อสินค้าฉลากคาร์บอนแล้วนั้นมีความน่าจะเป็นที่ผู้บริโภค จะตัดสินใจในการเลือกซื้อสินค้าฉลากคาร์บอนเพิ่มมากขึ้นโดยเปรียบเทียบกับผู้บริโภคที่มีทัศนคติที่ไม่ดีต่อสินค้าฉลากคาร์บอน ร้อยละ 1.04 และ (5) การส่งเสริมการตลาดสินค้าฉลากคาร์บอนในด้านราคาจะช่วยเพิ่มการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค ร้อยละ 1.25 ดังนั้น การสร้างทัศนคติที่ดีและการสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับสินค้าฉลากคาร์บอนและการส่งเสริมการบริโภคสินค้าฉลากคาร์บอนเป็นสิ่ง ที่ภาครัฐและภาคธุรกิจที่เกี่ยวข้องควรให้การสนับสนุน เพื่อขับเคลื่อนและขยายตลาดสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและช่วยลดภาวะเรือนกระจกอย่างได้ผลตามนโยบายของรัฐบาล

References

Andreas Persson. (2013). Determinants of
sustainable food consumption:
Moving consumers down the path
of sustainability by understanding
their behavior. Master degree Project
in Marketing and Consumption,
University of Gothenburg, School of
Business, Economics and Law.
Chunhasri, J. (2013). Behavior to reduce the
carbon footprint: Case study of
Muang Klaeng Sub-District
Municipality Office, Rayong
Province. Academic services journal
princess of SONGKLA University, 24(3),
82-93.
Faculty of Medicine, Mahidol University.
(n.d). A new choose of carbon
label for reduce global
warming. Retrieved May 20, 2015,
from
http://www.mt.mahidol.ac.th/MT_Gr
een/images/knowledge/carbonlab
el.pdf
Fishbein and Ajzen. (1980). Attitude toward
the Behavior or AB. In
Aphithanthiti, P. ( 2551).
Relationships among attitude,
subjective norm, perceived
behavior control, intention and
service behavior (CARE) of
employees in non-life insurance
company. Master of Arts,
Thammasat Univesity.
Greentheearth. (2008-2012). Global
Warming. Retrieved July 6, 2016,
from
http://www.greentheearth.info/
Mungkung, R., Gheewala, H. S.,
Poovarodoom, N. & Taewprayoon,
S. (2011). Carbon footprinting of
rice products, Kasetsart engineering
journal, 24 (75), 53 – 54.
Noushan Memar and Syed Ayub Ahmed.
(2012). Determinants which
Influence the Consumers’ Green
Purchasing Intention. Master of
Science, Mälardalen University,
Västerås, Sweden.
Office of Natural Resources and
Environmental Policy and Planning.
(2010). Introduction to the United
Nations Framework Convention
or Climate Change. (1sted). Bangkok:
Thai effect studio Co.,Ltd.
Office of the National Economic and
Social Development Board. (n.d).
Summary of the Eleventh
National Economic and Social
Development Plan (2013-2016).
Retrieved December 6, 2015, from
http://www2.oae.go.th
Rattanangkur, N. (2009). Factors official
Markets that influence the
decision to buy a product that
is environmentally friendly,
consumers in Bangkok. Master of
Business Administration Program,
Bangkok University.
Suriya, K. (2009). Logit model: theory
and application of economics
research. Retrieved February 5,
2015, from
http://www.tourismlogistics.com.
Wikipedia. (2014). Statistic Report of the
population and household by
district and tambon in 2014.
Retrieved September 14, 2014,
from https://th.wikipedia.org/wiki/
อาเภอเมืองเชียงใหม่.
Yavanopas, K. (2010). Influential factors
for choosing Carbon Reduction
Label Products: A case study of
Graduate students of National
Institute of Development
Administration, Bangkok. Master of
Science (Environmental
Management).

Downloads

เผยแพร่แล้ว

04-09-2019

How to Cite

คุ้มญาติ อ., เสถียรพีระกุล ข., ปัญญาวดี ว., & นันทะเสน เ. (2019). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าฉลากคาร์บอน ในอาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 8(2), 151. https://doi.org/10.53848/irdssru.v8i2.214504