รูปแบบการเรียนรูของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

ผู้แต่ง

  • กรรณิการ์ อนัคฆกุล
  • อัจฉรา วงศ์โสธร
  • บุญเรือง ชื่นสุวิมล
  • Kirk Person

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v8i2.214506

คำสำคัญ:

ความคิดเห็น, รูปแบบการเรียนรู้, นักศึกษาไทย

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการเรียนรู้ของนักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ที่กำลังศึกษาอยู่ในชั้นปีที่ 3 ปีการศึกษา 2558 จำนวน 80 คน จากประชากรทั้งสิ้น 95 คน โดยกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างตามตารางของเครจซี่และมอร์แกน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าซึ่งปรับปรุงมาจากแบบสอบถามของ กราซาและไรซ์แมน มีความเชื่อมั่นเท่ากับ .89 ทั้งนี้ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐาน

ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษาเห็นด้วยกับรูปแบบการเรียนรู้แบบพึ่งพา แบบร่วมมือ แบบมีส่วนร่วม และแบบอิสระในระดับมาก และเห็นด้วยกับรูปแบบการเรียนรู้ แบบแข่งขัน และแบบหลีกเลี่ยง ในระดับปานกลางผลการศึกษาทำให้ทราบว่า นักศึกษาเห็นด้วยกับรูปแบบการเรียนรู้หลายรูปแบบในระดับมาก ดังนั้นอาจารย์ผู้สอนควรมีรูปแบบการสอนและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย สอดคล้องกับรูปแบบการเรียนรู้ของนักศึกษา

References

Chirapat Noinambun, (2003). Bangkok
University Evening Program Students’
Opinions on Learning Styles.
Grasha, A. (1996). Teaching with Style: A
Practical Guide to Enhancing
Learning by Understanding Teaching
and Learning Styles. San Bernadino:
Alliance Publisher.
Grasha, A. and Reichmann, S. (1975). Work
Handout on Learning Styles. OHIO:
Faculty Resource Center, University of
Cincinnati.
Higher Education Commission, Office. (2013).
The Eleventh Higher Education
Development Plan (2012-2016).
Bangkok.
King, A. (2011). Culture Learning and
Development: A case Study on the
Ethiopian Higher Education System.
Krejcie, R.V. and Morgan. D.W. (1970).
Determining Sample Size for Research
Activities. Educational and
Psychological Measurement. V.30,
607-610.
National Economic and Social Development
Board, Office. The Eleventh National
Economic and Social Development
Plan. (2012-2016). Bangkok: Office of
the National Economic and Social
Development Board.
National Education Commission, Office. (1999).
National Education Act of B.E. 2542.
Bangkok: Office of the Prime Minister.
Permanent Secretary, Office. The Eleventh
Education Development Plan of
Ministry of Education (2012-2016).
Bangkok: Office of the Permanent
Secretory.
Pongsak Pankaew. (2003). Learning Styles of
Graduate Students of Education
Faculty. Chiang Mai University.
Prayote Kupgarnjanagool. (1982). Learning
Styles of Chulalongkorn University
Students. Chulalongkorn University.
Sucheera Pullsin. (2002). The Learning Styles
of Students under the In-service
Program of Rajabhat Institute Nakhon
Si Thammarat.
Supaporn Chantarakeeree. (2006).
Relationship between Learning Styles
and Academic Achievement of
Graduate Students. Faculty of
Education, Prince of Songkla University.
Supat Sattacomkul. (1993). Learning Styles of
Private University Students. Bangkok:
Chulalongkorn University.
Thamasak Thonthai. (2009). Learning Styles of
Graduate Diploma Students in
Teaching Profession. Princess of
Naradhiwas University.
Wannasiri Pensit. (2003). Out-Patients’
Satisfaction with Services in Saunprung
Psychiatric Hospital. Chiang Mai
University.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

04-09-2019

How to Cite

อนัคฆกุล ก., วงศ์โสธร อ., ชื่นสุวิมล บ., & Person, K. (2019). รูปแบบการเรียนรูของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 8(2), 162. https://doi.org/10.53848/irdssru.v8i2.214506