อิทธิพลของทุนทางสังคมในมิติด้านเครือข่ายสังคม ส านึกรักบ้านเกิด การด าเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และการจัดการความรู้ ที่ส่งผลต่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนของชุมชนในจังหวัดสมุทรสงคราม
DOI:
https://doi.org/10.53848/irdssru.v8i3.214553คำสำคัญ:
ทุนทางสังคม, ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง, การพัฒนาอย่างยั่งยืนบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของทุนทางสังคมในมิติด้านเครือข่ายสังคมสำนึกรักบ้านเกิด การด าเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และการจัดการความรู้ ที่ส่งผลต่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนของชุมชนในจังหวัดสมุทรสงคราม ผู้วิจัยทำการศึกษาทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพกลุ่มตัวอย่างในเชิงปริมาณ ได้แก่ ประชากรในชุมชน จังหวัดสมุทรสงครามจ านวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้
ได้แก่แบบสอบถาม ในขณะที่เชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ผู้นำชุมชน ประชาชนและเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานที่มีหน่วยปฏิบัติในพื้นที่ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ เอกสารที่เกี่ยวข้องกับโครงการและแผนงาน แบบสัมภาษณ์เชิงลึก แบบสัมภาษณ์กลุ่ม และแบบสังเกต ทั้งนี้ ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ผู้วิจัยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปและใช้การวิเคราะห์ตัวแบบสมการโครงสร้าง(Structural Equation Modeling, SEM) โดยใช้โปรแกรม LISREL ในขณะที่เชิงคุณภาพ ผู้วิจัยท าการ
วิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า ทุนทางสังคมที่ส่งผลต่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนมากที่สุดคือเครือข่ายสังคม รองลงมาคือการจัดการความรู้ และการด าเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามลำดับในขณะที่ทุนทางสังคมด้านส านึกรักบ้านเกิด ไม่ได้ส่งผลต่อการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยตรง แต่กลับพบว่ามีอิทธิพลทางอ้อมอย่างมีนัยสำคัญ
References
network analysis, social capital and
their policy implications.London: IIED
Graham, C. R., Allen, S., and Ure, D. (2003).
Blended Learning Environments: A
Review of the Research Literature.
https://msed.byu.edu/ipt/graham/vita/b
le_litrev.pdf.
Joreskog, K. G., and Sorbom, D. (1996).
LISREL 8: User’s reference guide.
Chicago: Scientific Software.
Krejcie, R.V. & Morgan, D.W. (1970).
Determining sample size for
research activities. Educational &
Psychological Measuremen.
Inphrom, C. (2004). Social capital in
natural resource management of
community : a case study of Sa
Pha Lan Wat Tamote, Tambon
Tamote, Tamote District,
Phatalung Province. Master Thesis,
Faculty of Social Administration
Thammasat University.
Natsupha, C; Phnsak, C. (1997). The Thai
Village Economy in the Past.
Bangkok: SamnakphimSangsan
Nakabut A. (2002). Social capital and Civil
society in Thailand.21century.
Pantasen. A. (2003). The application on
Sufficiency Economy Application
for SMEs. Bangkok: (The Thailand
Research Fund TRF.
Phongphit. S. (2003). Planned Economy.
Bangkok: Phumpanyathai.
Wiboonpongse Aree. (2006). Enterprises in
rural communities: research
approach, Development policy
strategies and 108 case studies.
Faculty of Agriculture, Chiang Mai
University.
Office of the National Economics and Social
Development Board. (2006). 9th
National Social-Economic
Development Plan.The Prime
Minister's Office.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว