การเสริมสร้างความรู้เรื่องความหลากหลายทางวัฒนธรรมในอาเภอพุทธ มณฑลสาหรับเด็กและเยาวชน

ผู้แต่ง

  • ถนอมศรี เปลี่ยนสมัย
  • เชาวน์มนัส ประภักดี,
  • สรรพารี ยกย่อง

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v8i3.214556

คำสำคัญ:

ความหลากหลายทางวัฒนธรรม, อาเภอพุทธมณฑล, เด็กและเยาวชน

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์สาคัญในการศึกษาความหลากหลายทางวัฒนธรรมในพื้นที่อาเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม เพื่อนาองค์ความรู้ดังกล่าวไปใช้ในการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับเด็กและเยาวชน โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ผนวกกับการปฏิบัติการแบบชุมชนมีส่วนร่วม ได้แก่การศึกษาเอกสาร การสัมภาษณ์ การสังเกต การสนทนากลุ่มย่อย และการจัดเวทีประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อนาเสนอและแลกเปลี่ยนข้อมูล โดยมีปราชญ์ชุมชน แกนนาชุมชน เด็ก/เยาวชน รวมทั้งผู้มีส่วนเกี่ยวข้องที่สนใจเข้าร่วมดาเนินการผลการวิจัยพบว่า อาเภอพุทธมณฑลเป็นพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม ทั้งที่เป็นวัฒนธรรมดั้งเดิมในพื้นที่ และวัฒนธรรมใหม่ที่ได้รับอิทธิพลจากความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีและกระบวนการกลายเป็นเมืองจากการแพร่กระจายของเมืองศูนย์กลาง ได้แก่ ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ประวัติศาสตร์ชุมชน สถาบันศาสนา ทรัพยากรธรรมชาติ วิถีการดาเนินชีวิต และความหลากหลายของผู้คน และโครงการได้ดาเนินการนาข้อมูลความรู้ที่ได้ไปใช้ในการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในเรื่องความหลากหลายทางวัฒนธรรมให้กับแกนนาเด็กและเยาวชนที่สนใจเข้าร่วมโครงการ เพื่อเป็นการปลูกฝังให้เด็กและเยาวชนในชุมชนผ่านกระบวนการทาสื่อสารคดีเชิงสร้างสรรค์ เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถดารงชีวิตภายใต้การเปลี่ยนแปลงของสังคมวัฒนธรรมอย่างรู้เท่าทัน และในขณะเดียวกันจะต้องมีความตระหนักถึงคุณค่าของวัฒนธรรมดั้งเดิมในชุมชน ภายใต้การดูแลเอาใจใส่
ของชุมชนคู่ขนานกันไป

References

Chantavanich, S. (2551). Sociological
Theory. Bangkok: Chulalongkorn
University.
Kaewthep, K. (2549). Genesis of
Knowledge of the local media
communications. Bangkok:
Thammasat University.
Kanchanapan, A. (2544). The Complex
thinking method in community
research: Dynamics and
Community potentiality in
development. Bangkok.
Kasampolkoon, A. and Thepnimit, N.
(2552). LUMNUMKUMWAN The
story of Thai Folk Music in Salaya
province. The memorial in the
story of Salaya 3th.
Oon-Ob, P. (2542). Local knowledge in
Buddhamonthon Nakhon Pathom
Province of Social capital and
cultural capital. Research and
Development Project of
Buddhamonthon Community.
Mahidol University.
Patmasiriwat, D. (2547). Social capital and
cultural capital in the economy
and management of a new era.
Bangkok: P. A. living.
Samudavanija, J. (2540). Cultural is
Capital. Bangkok: Sukhum and
Butara Company Limited.
Thanapornpan, R. (2546). Cultural Capital
cultural, capitalism. Bangkok:
pikanet-printing Ltd.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

04-09-2019

How to Cite

เปลี่ยนสมัย ถ., ประภักดี, เ., & ยกย่อง ส. (2019). การเสริมสร้างความรู้เรื่องความหลากหลายทางวัฒนธรรมในอาเภอพุทธ มณฑลสาหรับเด็กและเยาวชน. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 8(3), 50. https://doi.org/10.53848/irdssru.v8i3.214556