การศึกษาความสามารถรับรู้ทางสายตาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาระดับเล็กน้อยจากการจัดกิจกรรมศิลปะ การลากตามสัมผัส (Contour Drawing)
DOI:
https://doi.org/10.53848/irdssru.v8i3.214570คำสำคัญ:
ความสามารถรับรู้ทางสายตา, นักเรียน, บกพร่องทางสติปัญญา, ศิลปะการลากตามสัมผัสบทคัดย่อ
การวิจัยมีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความสามารถรับรู้ทางสายตาของนักเรียนระดับชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 1 ที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาระดับเล็กน้อยจากการจัดกิจกรรมศิลปะการลากตามสัมผัส (Contour Drawing) กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาระดับเล็กน้อยและไม่มีความพิการซ้้าซ้อน ก้าลังศึกษาอยู่ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนพญาไท โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จ้านวน 6 คน ท้าการทดลองเป็นระยะเวลา 5 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 5 วัน วันละ 40 นาที รวมทั้งสิ้น 25 ครั้ง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ได้แก่ แผนการจัดกิจกรรมศิลปะการลากตามสัมผัส (Contour Drawing) และแบบทดสอบวัดความสามารถรับรู้ทางสายตา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่ามัธยฐาน (Median) ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ (Interquartile Range: IQR) และสถิติทดสอบ The Signed Test for Median: One Sample และ The Wilcoxon Matched - Pairs Signed - Ranks Test
ผลการวิจัยพบว่า
1) ความสามารถรับรู้ทางสายตาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาระดับเล็กน้อยหลังการจัดกิจกรรมศิลปะการลากตามสัมผัส (Contour Drawing) อยู่ในระดับปานกลาง (ค่ามัธยฐานเท่ากับ 13.17 คะแนน จากคะแนนเต็ม 20 คะแนน; t = 3, P-value = 0.656)
2) ความสามารถรับรู้ทางสายตาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1ที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาระดับเล็กน้อยหลังการจัดกิจกรรมศิลปะการลากตามสัมผัส (Contour Drawing) สูงขึ้น (T = 0,p < .05)
References
Tonsoivipha 38: Understanding
about art; Drawing or Contour
Drawing. Retrieved June 11, 2014,
from
http://www.ryt9.com/s/bmnd/8923
31.
Kanokviboolsri, R. (1986). A comparative
study of pre-school children's
visual discriminating abilities
drilled by didactic games and
work sheets. Master Thesis, M.Ed.
Bangkok: Srinakharinwirot
University.
Katekhanchan, P. (1997). Learning and the
brain – Brain gym. Bangkok:
Department of Special Education.
Factulty of Education. Srinakarinwirot
University
Klaiklum, A. (1997). A comparison of visual
perception ability of the educable
mentally retarded children through
games and skills training package.
Master Thesis, M.Ed (Special
Education). Bangkok: Srinakharinwirot
University.
Muider, A. (2013). Blind Contour Drawing.
Retrieved November 21, 2013, from.
(อ อ น ไ ล น์ ) . แ ห ล่ ง ที่ ม า
http://www.kinderart.com/drawing/blin
d.shtml สืบค้นวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2557.
Nuntakwang, S. (2004). Using Contour
Drawing to Enhance
Concentration of PrathomSuksa 3
Students. Master Thesis, M.Ed.
Chiang Mai: Chiang Mai University.
Phaetlakfa, K. (2009). A comparative
study of the spatial ability
achievement of early childhood
children between pre and post
learning by creative Arts
Instructional Package for develop
spatial activities. Master thesis
M.Ed. (Art Education) Bangkok:
Srinakarinwirot University.
Sukkhasem, S. (1995). The effect of art
activity on fine-motor abilities of
preschool children with mild
mental retardation. Master Thesis,
M.Ed(Special Education). Bangkok:
Srinakharinwirot University.
Thanaphoom, D. (1999).Teaching Children
with Mental Retardation. Rajanukul
Institute. Department of Mental Health.
Ministry of Public Health.
Tonpan, B. (1985). A study of the
relationship between lipreading
ability and visual perception of
hearing impaired students. Master
Thesis, M.Ed (Special Education).
Bangkok: Srinakharinwirot
University.
Tungjaroen, W. (1989). Visual Art.
Bangkok: Sadangsil publishing.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว