การออกแบบเก้าอี้หวายตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการมีภูมิคุ้มกัน
DOI:
https://doi.org/10.53848/irdssru.v8i3.214580คำสำคัญ:
เก้าอี้หวาย, หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง, การมีภูมิคุ้มกันบทคัดย่อ
การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบริบทและ แนวคิด หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด้านการมีภูมิคุ้มกัน เพื่อบูรณาการในการออกแบบและเพิ่มศักยภาพด้านความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์วิสาหกิจชุมชนเก้าอี้หวาย กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์วิสาหกิจชุมชนประเภทของที่ระลึก จานวน 100 คนที่เข้าร่วมรับการอบรมการเพิ่มศักยภาพความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบ และทาการพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบเก้าอี้หวาย ทาการประเมินโดย ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบ จานวน 3 ท่าน เพื่อประเมินผล
การใช้ความคิดสร้างสรรค์การออกแบบเก้าอี้หวายในด้านของการมีภูมิคุ้มกันตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ผลการวิจัยพบว่า
1) หลักการออกแบบผลิตภัณฑ์มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงด้านการมีภูมิคัมกัน ในด้านประโยชน์ใช้สอย ความงาม หลักสรีรศาสตร์ ความแข็งแรงทนทาน วัสดุและกรรมวิธีการผลิต
2) ผลการประเมินการพัฒนาเก้าอี้หวาย โดยผู้เชี่ยวชาญการออกแบบ
พบว่า เก้าอี้หวายมีศักยภาพทางความคิดสร้างสรรค์เพิ่มขึ้นในด้านของการมีภูมิคุ้มกันตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีค่าเฉลี่ยรวม 0.40
References
Sufficiency Economy -the
ultimate Buddhist economic
concepts. Bangkok: Starlight.
Boonpracha, J. (2015). Enhance Potential
in Creativity of Community
Enterprise Products Accord to
Philosophy of Sufficiency
Economy based on Local
Wisdom. Bangkok: Suan Sunandha
Rajabhat University
Boonwong, N. (1999). Design Principles.
Bangkok: Chulalongkorn University.
Isarangkun Na Ayudhaya, J. (2006).
Economics in Sufficiency
Economy under the Royal
Initiative of His Majesty the King.
Journal of the Royal Initiative of His
Majesty the King 4(4), 27-28.
Na Pompetch, V. (2006). His Majesty the
King with Thailand economic
problems. Bangkok: Study
development.
Virachanipawon, V. (2008). Management
guidelines for integrity and
sufficiency economy guidelines.
Bangkok: Perfect Publisher.
Thepsitha, S. (2005). On the trail of His
Majesty the King’s sufficiency
economy to solve problems of
poverty and corruption. (2nd ed.).
Bangkok: Ariyamak Fund.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว