แนวทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์อาหารฮาลาลไทย เพื่อการส่งออกไปประเทศมาเลเซีย
DOI:
https://doi.org/10.53848/irdssru.v8i3.214595คำสำคัญ:
ผลิตภัณฑ์ฮาลาล, การออกแบบบรรจุภัณฑ์, ประเทศในกลุ่มมุสลิม, สินค้าฮาลาลในประเทศ มาเลเซียบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาแนวความคิดและรูปแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์ฮาลาลที่จาหน่ายในประเทศมาเลเซีย 2) เพื่อออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์ฮาลาลไทย ที่จะส่งไปจาหน่ายในประเทศกลุ่มมุสลิม ข้อมูลที่จะศึกษาประกอบด้วย ส่วนที่ 1 คือองค์ประกอบของการออกแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ ได้แก่ 1) ภาพประกอบ 2) ตัวอักษร 3) สีสัน 4) ลวดลายกราฟิก ส่วนที่ 2 คือ ผลิตภัณฑ์ฮาลาล 3 ประเภท ได้แก่ 1) อาหารสาเร็จรูป 2) เครื่องดื่ม และขนมขบเคี้ยว 3) เครื่องปรุงแต่งอาหาร วิธีดาเนินการวิจัยจะใช้กลุ่มตัวอย่างที่ถูกเลือกแบบเจาะจง
ตัวบุคคล ได้แก่ 1) ผู้แทนการค้าภาครัฐของไทยในประเทศมาเลเซีย 2) นักศึกษาจากประเทศมาเลเซีย 3) ตัวอย่างบรรจุภัณฑ์อาหาร ฮาลาลในประเทศมาเลเซีย ผลการวิจัยพบว่า 1) แนวโน้มกราฟิกบน บรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์ฮาลาลในประเทศมาเลเซีย มีลักษณะแบบตะวันตกผสมผสานกับเอเชีย 2) ฉลากบนบรรจุภัณฑ์ต้องสื่อความหมายที่เข้าใจได้และมีตรารับรองมาตรฐานฮาลาล 3) ด้านพฤติกรรม ผู้บริโภค ชาวมาเลเซียให้ความสาคัญกับอาหารฮาลาลและปฏิบัติตามหลักการฮาลาลอย่างเข้มงวด
4) ด้านทัศนคติของผู้บริโภค ชาวมาเลเซียเชื่อมั่นในผลิตภัณฑ์ฮาลาลที่ผ่านมาตรฐานของหน่วยงาน ตรวจสอบอาหารฮาลาลมาเลเซีย 5) ด้านเหตุผลในการเลือกซื้อสินค้า ชาวมาเลเซียเลือกซื้อสินค้าที่มี คุณค่าทางโภชนาการและวัตถุดิบที่มีคุณภาพ 6) ด้านแรงจูงใจในการเลือกซื้อสินค้า ชาวมาเลเซียให้ความสาคัญกับมาตรฐานการผลิตสินค้าฮาลาลและภาพลักษณ์สินค้าที่เป็นสากล
References
Ministry of Foreign Affairs.
Boonyaratavej, D. (2012). Branding A-Z.
BKK: Bangkok Business.
Chaipranee, W. (2 005). Creative
Branding.BKK: Mathichon.
Hasun, Y. (2003). Lifestyle, knowledge
and consumption behavior of
Halal food by muslim
consumers.Master Degree
Thesis,Chulalongkorn University.
Ketkhong, S. (2010). Food Insight
Connect Magazine.BKK: Food
Institute.
Kotler, P. (2012). Principles of Marketing.
Boston, MA: Pearson.
Maluleem, J. (1998). Islam: its meaning
and message. BKK: Islamic
Academic.
Office of The Higher Education
Commission. (2013). Foreign
students which studying in higher
education institutions. Available
from:
http://www.inter.mua.go.th/main2/
article.php?id=257.
Raksamani, A. I. (2009). Mosque of
Bangkok. Doctoral Dissertation,
Chulalongkorn University.
Sukcharuen, W. (2012). Consumer
Behavior. BKK: G. P. Cyber Print.
Tangcharuen, W. (2 002). Graphic
Design.BKK: E and IQ.
Waijittragum, P. (2010). The Standard
Development of Islamic Identity
in Graphic Design for Halal
Products and Services. Doctoral
Dissertation Chulalongkorn
University.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว