การศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบการจัดการความรู้กับวัฒนธรรมองค์การ ขององค์กรภาคเอกชน

ผู้แต่ง

  • สุขจิตต์ ณ นคร

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v8i3.214603

คำสำคัญ:

รูปแบบการจัดการความรู้, ลักษณะวัฒนธรรมองค์การ, องค์กรภาคเอกชน

บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่อง “การศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบการจัดการความรู้กับวัฒนธรรมองค์การขององค์กรภาคเอกชน” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการจัดการความรู้และลักษณะวัฒนธรรมองค์การขององค์กรภาคเอกชน รวมทั้งศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบการจัดการความรู้และวัฒนธรรมองค์การระหว่างองค์กรภาค และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการความรู้กับวัฒนธรรมองค์การขององค์กรภาคเอกชน ผู้วิจัยใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ด้วยวิธีการวิจัยเชิงสารวจ (Survey Research) โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง
จานวน 520 คน ได้รับแบบสอบถามคืนมาจานวน 256 คน คิดเป็นร้อยละ 49.23 สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) การทดสอบค่าที (t-test) การวิเคราะห์ความแปรปรวน (One-way ANOVA) ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson’s Product Moment Correlation)
ณ ระดับนัยสาคัญทางสถิติที่ 0.05 จากการศึกษาพบว่า รูปแบบการจัดการความรู้ขององค์กร ภาคเอกชนทั้งประเภทความรู้เด่นชัดหรือความรู้ชัดแจ้งและความรู้ซ่อนเร้นหรือความรู้โดยนัยมีค่าเฉลี่ย อยู่ในระดับมาก ( X = 3.83 และ X = 3.60 ตามลาดับ) ซึ่งตรงกับรูปแบบ Dynamic Style ตามแนวคิดของ Choi และ Lee และลักษณะวัฒนธรรมองค์การขององค์กรภาคเอกชนทุกมิติของวัฒนธรรมองค์การ ได้แก่ มิติการมีส่วนร่วม (Involvement) ( X = 3.73) มิติความเหนียวแน่น (Consistency) ( X =3.59) มิติความสามารถในการปรับตัวหรือเปลี่ยนแปลง (Adaptability) ( X = 3.80) และมิติภารกิจหลัก (Mission) ( X = 3.83) มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากเช่นเดียวกัน ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการเปรียบเทียบความแตกต่างของรูปแบบการจัดการความรู้ระหว่างองค์กรภาคเอกชน ปรากฏว่ารูปแบบการจัดการความรู้ขององค์กรภาคเอกชนมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (Sig. = 0.027) สาหรับการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการเปรียบเทียบความแตกต่างของลักษณะวัฒนธรรมองค์การระหว่างองค์กร
ภาคเอกชน ปรากฏว่าลักษณะวัฒนธรรมองค์การขององค์กรภาคเอกชนไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (Sig. = 0.351) ส่วนผลการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการความรู้กับวัฒนธรรมองค์การขององค์กรภาคเอกชน ปรากฏว่ารูปแบบการจัดการความรู้มีความสัมพันธ์กับลักษณะวัฒนธรรมองค์การอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (Sig. = 0.000) ซึ่งผลการศึกษาทาให้เห็นว่ารูปแบบการจัดการความรู้และวัฒนธรรมองค์การขององค์กรภาคเอกชน จะมีส่วนช่วยให้องค์กรทั้งภาคเอกชน
สามารถที่จะดาเนินงานให้บรรลุประสิทธิผลได้เป็นอย่างดี

References

Choi, B. and Lee, H. (2003). “An empirical
investigation of KM styles and their
effect on corporate performance.”
Information & Management. 40:
403-417.
Denison, Daniel R. (1990). Corporate Culture
and Organizational Effectiveness.
New York: John Wiley & Sons.
Denison, Daniel R. and Mishra, Aneil K. (1995).
“Toward a Theory of Organizational
Culture and Effectiveness.”
Organization Science. 6, 2: 204-223.
Lumpay, W. (2003). The techinque
research social a science.
Bangkok: Kasetsat University.
Rhosuwan. T. (2005). Administration
knowledge Complexion, Journal
Administrates a science. 2, 45: 1-24.
Srichotis, S. All. (2003). Knowledge
Administration of the Organization
in Thailand : study compare with
between Government service
Organization, State Enterprises, and
private. Master degree paper, National
Institute of Development
Administration.
The National enhances institute. (2003).
Administration knowledge
produce from the theory to
minister. Bangkok: Uktion company
Co,ltd.
Vicheanpanya, P. (2004). Administration
knowledge intellect : Applying
base. Bangkok: Dhumprinting.
Yoyingyong, K. (2006). Extremely
knowledge Administration in an
Organization and the case study.
Print time at 2. Bangkok :Master
Copy.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

04-09-2019

How to Cite

ณ นคร ส. (2019). การศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบการจัดการความรู้กับวัฒนธรรมองค์การ ขององค์กรภาคเอกชน. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 8(3), 200. https://doi.org/10.53848/irdssru.v8i3.214603