มาตรฐานและตัวชี้วัดคุณภาพ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏ

ผู้แต่ง

  • วิชัย แหวนเพชร

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v8i3.214604

คำสำคัญ:

คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม, มาตรฐาน, ตัวชี้วัด

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาบริบทการดาเนินการการจัดการศึกษาของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏ 2) วิเคราะห์การดาเนินการจัดการศึกษา ของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 3) พัฒนามาตรฐานและตัวชี้วัดคุณภาพคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม 4) ประเมินคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมตามเกณฑ์มาตรฐานและตัวชี้วัดคุณภาพ ผลการวิจัยพบว่า คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มีการเปิดสอนทั้งระดับปริญญาตรี โท และเอก ทั้งภาคปกติและภาคพิเศษ มีคณาจารย์ 900 คน เป็นข้าราชการร้อยละ 46.89 เป็นพนักงานมหาวิทยาลัย และอัตราจ้างร้อยละ 53.11
ผลการวิเคราะห์จุดอ่อนของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมคือ 1) งบประมาณในการบริหารจัดการยังน้อย 2) จานวนนักศึกษาลดลง 3) จานวนบุคลากรสายสอนและสายสนับสนุนมีน้อย 4) อาคารสถานที่ คับแคบ/ห้องปฏิบัติการมีไม่เพียงพอ 5) เครื่องมืออุปการณ์ ครุภัณฑ์เก่า และมีน้อยมาตรฐานและตัวชี้วัดคุณภาพ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (QS.In-tech.2010) 8 มาตรฐานคือ 1)ด้านนักศึกษา และคุณภาพบัณฑิต 2) ด้านหลักสูตร และการเรียนการสอน 3) ด้านการวิจัย และ
งานประดิษฐ์สร้างสรรค์ 4) ด้านงบประมาณ และด้านสิ่งอานวยความสะดวก 5) ด้านอาจารย์ และบุคลากรสนับสนุน 6) ด้านการบริการวิชาการและถ่ายทอดเทคโนโลยี 7) ด้านการบริหารจัดการและศิลปวัฒนธรรมและ 8) ด้านกลไกการประกันคุณภาพ ตามลาดับผลการจัดอันดับคุณภาพตามมาตรฐาน QS.In-tech 2010 จาการประเมิน คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ตามมาตรฐานและตัวชี้วัดคุณภาพทั้ง 8 คณะคือ 1) คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี รับรองคุณภาพระดับดี ( X =4.23) 2) คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร รับรองคุณภาพระดับดี ( X =3.98) 3) คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและอัญมณีศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราไพพรรณี รับรองคุณภาพ ระดับดี ( X =3.92) 4) คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ รับรองคุณภาพ ระดับดี ( X =3.67) 5) คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร รับรองคุณภาพ ระดับดี ( X =3.61)
6) คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช รับรองคุณภาพ ระดับดี ( X =3.59) 7) คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร รับรองคุณภาพ ระดับดี ( X =3.59) และ 8) คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย รับรองคุณภาพ ระดับดี ( X =3.59)

References

Janjira Wongkhomthong. (2000). A
Development of Indicators of
Educational Quality Assurance of
Private Higher Education
Institutions. Individual research
documents. Diploma, National
Defence College, The Joint State -
Private Sector.
Office of the Council of State. (2004).
Rajabhat Universities Act 2004.
Royal Thai Government Gazette
Vol.121 Special section 23 A 14
June.
Piyathida Worayanopakorn. (2003). A
Development of Composite
Indicator of Teacher
Empowerment in Schools under
Jurisdiction of the Commission
for Basic Education. Chonburi :
Piboonbumpen Demonstration
School Burapa University.
Suwimon Wongwanich. (2002). A
Development of the Standards
for Teacher and School
Administrator Quality and a
Design of the Internal Evaluation
System. Bangkok: Faculty of
Education Chulalongkorn
University.
Thongpakdee, A. (2000). A development
of composite indicator for
educaitonal quality of Faculty of
Education in Rajabhat Institutes
by group of inner staff and
group of external experts. Thesis
in master of Education
Chulalongkorn University.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

04-09-2019

How to Cite

แหวนเพชร ว. (2019). มาตรฐานและตัวชี้วัดคุณภาพ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏ. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 8(3), 212. https://doi.org/10.53848/irdssru.v8i3.214604