รูปแบบการประเมินกระบวนการส่งเสริมงานวิจัย เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นของมหาวิทยาลัยราชภัฏ

ผู้แต่ง

  • ธิดารัตน์ สุขประภาภรณ์

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v8i3.214605

คำสำคัญ:

รูปแบบการประเมิน, กระบวนการส่งเสริมงานวิจัย, การพัฒนาท้องถิ่น, มหาวิทยาลัยราชภัฏ

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ พร้อมกับสร้างรูปแบบการประเมินและวัดประสิทธิภาพของรูปแบบการประเมินกระบวนการส่งเสริมงานวิจัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นของมหาวิทยาลัยราชภัฏมีวิธีดาเนินการวิจัย 3 ขั้นคือ ขั้นที่ 1 การศึกษาองค์ประกอบ ประชากร คือ คณาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏ 40 แห่ง ขั้นที่ 2 การสร้างรูปแบบการประเมินใช้แนวคิดการประเมินของนีโว (Nevo, 1983), วิลเลียม (William R. Tash, 2006) และ ศิริชัย กาญจนวาสี (2552) ประเมินประสิทธิภาพโดยผู้เชี่ยวชาญ ขั้นที่ 3 ทดลองใช้รูปแบบประเมินในมหาวิทยาลัยราชภัฏ 1 แห่ง สรุป
ผลการวิจัยคือองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ของกระบวนการส่งเสริมงานวิจัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ 50 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ กระบวนการส่งเสริมเพื่อการพัฒนาโจทย์การวิจัย 8 ตัวบ่งชี้กระบวนการส่งเสริมเพื่อการเรียนรู้กระบวนการออกแบบการวิจัย 5 ตัวบ่งชี้ กระบวนการส่งเสริมเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานวิจัย 27 ตัวบ่งชี้ กระบวนการส่งเสริมเพื่อเสริมสร้างศักยภาพการเผยแพร่ผลงานวิจัย 6 ตัวบ่งชี้ กระบวนการส่งเสริมเพื่อตอบสนองความต้องการของท้องถิ่น 4 ตัวบ่งชี้
องค์ประกอบทั้งหมดสามารถอธิบายความแปรปรวนของตัวแปรกระบวนการส่งเสริมงานวิจัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นได้ร้อยละ 69.66 ของทั้ง รูปแบบการประเมินกระบวนการส่งเสริมงานวิจัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบหลัก คือ 1) เป้าหมายของการประเมิน 2) ขอบเขตการประเมิน 3) การดาเนินการประเมิน 4) การตัดสินผลการประเมิน และ 5) การรายงานผล โดยประสิทธิภาพของรูปแบบการประเมินกระบวนการส่งเสริมงานวิจัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น 4 ประเด็นหลัก พบว่า รูปแบบมีความถูกต้องแม่นยา อยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนการใช้ประโยชน์ ความเป็นไปได้ในการนาไปใช้ และความเหมาะสม พบว่า อยู่ในระดับมาก

References

Buason, R. (1997). Evaluation
Assessment Research. Bangkok,
Ton-or Grammy.
Buason, R. Research and Development.
(2000).Pitsanulok. Faculty of
education Naresuan University.
Buddhawattana, P. (2006) Innovation to
development culture of the
research for lecturlor of Songkla
university Patani campus, Faculty
of education Songkla University
Patani campus.
Chaithep, B. (2009). Factors to promote
research in the classroom of the
teacher in the school network
Singhanat-rachalai Maehongsorn
province. Master of Art Thesis
(Education administration).
Chiangmai Rajabhat University.
Chiengkul, W. (2008). Thai Education on
2007/2008 Equality issues
Thailand and the quality of
education. Bangkok. Office of
education research and
Development, Office of the
Education Council, Ministry of
Education, VTC.Comunication.
Department of Education administration,
Faculty of Education. Silpakorn
University. (2011) Form of action to
promote for development the
research on areas base office.
Bangkok, Office of the Basic Education
Commission, Ministry of Education.
Jack R. Fraenkel and Norman E. Wallen.
(1932). How to Design and Evaluate
Research in Education. (6th ed.),
McGraw-Hill, Inc.
Jitmitraparb, S. (July 13, 2011). National
Research council of Thailand (NRCT)
scholars produce research policy.
Daily news. Retrieved from
http://www.dailynews.co.th.
Johnstone, James N. (1981). Indicators of
education system. London: Unesco.
Kanjanawasee, S. (2009). Theory assessment.
4th Edition. Bangkok. Chulalongkorn
University Printed.
Kumar, Ranjit. (2005). Research
Methodology-A Step-by-Step Guide
for Beginners, (2nd.ed.), London: SAGE
Publication, Ltd.
Kundalaputra, C. (2007) The Research for
new generation researchers. Bangkok.
Sahathammic Press. Co, ltd.
Nevo, D. (1983) .The conceptualization of
Education Evaluation: An analytical
Review of the Literature. Review of
Education Research, 53 (3), 117-128.
Phithiyanuwat, S. (2008) Valuation
Methodology: The Science of
values. 4th edition Bangkok.
Chulalongkorn Univiersity Printed.
Prasertphan, S. and Jabjai,S. (2004). The
condition of the personnel
management system that facilitates
the promotion of research
professors. Uttaradit. Uttaradit
Rajabhat University.
Saptanon, J. (2009) Development of the
Research Promotion Model for
Teachers in University. Dissertation of
Ph.D. (Research and Development on
Technical Education). Graduate school.
King Mongkut's University of
Technology North Bangkok.
Seesuk, K. (2009). Research Methodology.
Chiangmai, Faculty of Education,
Chiangmai University.
Srisa-ard, B. (1992). Fundamental of
Research. 6th Edition. Bangkok.
Suviriyasarn Press.
Srisa-ard, B.. 1992. The Research for research
and evaluation. Maha Sarakham,
Srinakharinwirot University Maha
Sarakham.
Stufflebeam, D.L. (1999). Foundational
Models for 21st Century Program
Evaluation. The Evaluation Center:
Western Michigan University.
Stufflebeam, D.L. (1968). Toward a Science
of Education Evaluationin Education
Technology, Boston, Allyn and bacon.
Tanya, S. (2002). Assessment of Education.
Bangkok. Suriyasarn.
Thiwaphan, S. and Thongsukdee, M.
Bhumipattrakom, P. (2005) Dream
Weaver Rajabhat University to locals.
Nakhon Sawan, Nakhon Sawan
Rajabhat University.Rimping Printed.
William R. Tash. (2006) .Evaluating Research
Centers and Institutes for Success: A
Manual and Guide with Case
Studies. WT & Associates.
Fredericksburg.
Worthen,B.R and Sanders,J.R. (1973).
Educational Evaluation: Theory and
Practice. USA: Wadswoth Publishing
Company.
Worthen,B.R and Sanders,J.R. (1973).
Educational Evaluation: Theory and
Practice. USA: Wadswoth Publishing
Company.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

04-09-2019

How to Cite

สุขประภาภรณ์ ธ. (2019). รูปแบบการประเมินกระบวนการส่งเสริมงานวิจัย เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นของมหาวิทยาลัยราชภัฏ. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 8(3), 225. https://doi.org/10.53848/irdssru.v8i3.214605