ห้องเรียนอัจฉริยะ: นวัตกรรมการศึกษาในศตวรรษที่ 21

ผู้แต่ง

  • ภูชิศ สถิตพงษ์

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v8i3.214609

คำสำคัญ:

ห้องเรียนอัจฉริยะ, นวัตกรรมการศึกษา, ศตวรรษที่ 21

บทคัดย่อ

ห้องเรียนอัจฉริยะ หรือ Smart Classroom ถือเป็นนวัตกรรมการศึกษาที่ได้นาเทคโนโลยีมาเป็นส่วนหนึ่งในกระบวนการจัดการเรียนการสอน เพื่อมุ่งพัฒนาและส่งเสริมประสิทธิภาพของการจัดการศึกษาให้ดียิ่งขึ้นในศตวรรษที่ 21 และสอดรับกับกระแสการเปลี่ยนแปลงความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เข้ามามีบทบาทค่อนข้างสูงต่อการจัดการศึกษา โดยห้องเรียนอัจฉริยะมีจุดเน้นด้านของการมีปฏิสัมพันธ์ทางการเรียนร่วมกันกับเทคโนโลยีที่หลากหลายของสื่อในรูปแบบ
ต่าง ๆ ที่ก่อให้เกิดเป็นการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้มีปฏิสัมพันธ์ และเกิดวิธีคิดตามกระบวนการสร้างองค์ความรู้และหลักการทางวิทยาศาสตร์ อีกทั้งยังช่วยให้ผู้เรียนเกิดการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดแก้ปัญหา การคิดเชิงสร้างสรรค์ และสามารถประมวลผลข้อมูลความรู้นั้นได้ด้วยตนเอง พร้อมทั้งช่วยส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ ทักษะการสื่อสาร และทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป็นต้น โดยทั้งหมดผู้สอนทาหน้าที่
เป็นผู้อานวยความสะดวก ชี้แนะ และกระตุ้นในการจัดการเรียนการสอนให้กับผู้เรียนเท่านั้น ดังนั้น ห้องเรียนอัจฉริยะจึงถือเป็นการเพิ่มโอกาสทางการศึกษา และเป็นการลดปัญหาความเหลื่อมล้าทางการศึกษา พร้อมทั้งส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดทักษะต่าง ๆ ที่จาเป็นสาหรับการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21

References

Amanda William. (n.d.). Smart Classroom
for the Future of Education in
Thailand. (Online). Available from:
https://blog.eduzones.com/Global
academycenter/140758. (2015, 1
September).
Huang, R., Hub, Y., Yang, J., Xiao, G. (2012).
The Functions of smart
classroom in smart learning age.
In Proceedings of the 20th
International Conference on
Computers in Education ICCE 2012.
National Instituteof Education,
Nanyang Technological University,
Singapore.
Instructor by Faculty of Education,
Mahasarakham University. (2011).
Foundations of Educational
Paradigm. 3rded. Mahasarakham,
Thailand: apichartprinting, Ltd.
Namon Jeerungsuwan. (2013). Principles
of Design and Evaluation. 3rded.
Bangkok, Thailand: King Mongkut´s
University of Technology North
Bangkok.
O’Driscoll, C. et, al. (2008). Deploying a
context aware smart classroom.
In Proceedings of the Arrow@DIR
Conference, Dublin Ireland.
(Online). Available from:
http://arrow.dit.ie/engschececon/53
/. (2015, 1 September).
Pornpun Waitayangkoon. (2014). Smart
Classroom with Context of
Educational System in Thailand.
Journal of Industrial Technology
Review. 20(261) August 2014. pp:
128 - 129.
Ruthbea, Y.C. (2012). The Next–
Generation Classroom:Smart,
Interactive and Connected
Learning Environments. (Online).
Available from:
http://www.samsung.com/ph/busin
ess-images/resource/whitepaper/
2012/12/EBT15_1210_Samsu
ng_Smart_School_WP-0.pdf. (2015,
1 September).
Uthit Bamroongcheep. (2014). HyFlex
Learning: Instructional
Technology in 21st Century.
Journal of Education, Burapha
University. 25(1) January – April
2014. pp: 15 – 29.
Vicharn Panich. (2012). Course of
learning for students in the 21st
century. Bangkok, Thailand: Sodsri-
Saritwong Foundation.
Wanwisa Ken. (2013). How to Learning
Works: SevenResearch-Based
Principles for Smart Teaching.1st
ed. Bangkok, Thailand: openworlds
publishing house.
Worrapot Wongkijrungruang and Athip
Jittarerk. (2011). 21st Center Skills:
Rethinking How Student Learn.
1sted. Bangkok, Thailand: open
worlds publishing house.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

04-09-2019

How to Cite

สถิตพงษ์ ภ. (2019). ห้องเรียนอัจฉริยะ: นวัตกรรมการศึกษาในศตวรรษที่ 21. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 8(3), 237. https://doi.org/10.53848/irdssru.v8i3.214609