ปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีสินทรัพย์ เรื่อง ที่ดินอาคารอุปกรณ์และค่าเสื่อมราคา

ผู้แต่ง

  • ทัศนีย์นารถ ลิ้มสุทธิวันภูมิ

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v8i1.214746

คำสำคัญ:

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน, สภาพแวดล้อมในห้องเรียน, ความสามารถในการเรียนรู้

บทคัดย่อ

          การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยของตัวแปรด้านสภาพแวดล้อมในห้องเรียนที่ส่งผลกระทบต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2) ศึกษาปัจจัยของตัวแปรด้านความสามารถในการเรียนรู้ที่
ส่งผลกระทบต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ่มตัวอย่างคือนักศึกษาคณะบัญชี ชั้นปีที่ 2 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จำนวน 110 คน เก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย ส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ

          ผลการวิจัยพบว่า 1) ค่าเฉลี่ยของตัวแปรด้านสภาพแวดล้อมในห้องเรียนอยู่ในระดับมากเป็นอย่างยิ่งเท่ากับ 3.24 (จาก 4) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.29 รองลงมาคือค่าเฉลี่ยของตัวแปรด้าน
ความสามารถในการเรียนรู้อยู่ในระดับมากเป็นอย่างยิ่งเท่ากับ 3.16 (จาก 4) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.39 2) ตัวแปรด้านสภาพแวดล้อมในห้องเรียนและตัวแปรด้านความสามารถในการเรียนรู้มี
ความสัมพันธ์ทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (r = 0.72, p<0.05) โดยตัวแปรด้านสภาพแวดล้อมในห้องเรียนกับตัวแปรด้านความสามารถในการเรียนรู้สามารถทำนายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาคณะบัญชีได้ร้อยละ 51 (p<0.05)

          การวิจัยนี้มีข้อเสนอแนะให้ผู้สอนกระตุ้นนักศึกษาให้เกิดแรงจูงใจในการทำงานร่วมกับเพื่อนเพื่อให้นักศึกษาทุกคนมีส่วนร่วมในการเรียน การแลกเปลี่ยนความรู้กันในกลุ่ม การกระตุ้นให้นักศึกษา
รับรู้ถึงความสามารถในการเรียนของตนเองเพื่อให้นักศึกษาทุกคนพยายามทำงานให้บรรลุผลสำเร็จนอกจากนี้ผู้สอนต้องมีความเป็นมิตรกับนักศึกษาเพื่อให้นักศึกษากล้าถามกล้าแสดงความเห็นกล้า
อภิปรายประเด็นปัญหาร่วมกัน และผู้สอนต้องหาวิธีทำให้นักศึกษาเกิดความสนใจในการเรียน

References

Abrantes, J. L., Seabra, C., & Lages, L. F.
(2007). Pedagogical Affect, Student
Interest, and Learning Performance.
Journal of Business Research, 60,
960-964.
Bandura, A. (1978). The Self System in
Reciprocal Determinism. American
Psychologist, 33(4), 344 - 358.
Brown, I. M. & Posner, B. Z. (2001).
Exploring the Relationships
Between Learning and Leadership.
Leadership & Organization
Development Journal, 22(6), 274-
280..
Cardoso, A. P., Ferreira, M., Abrantes, J. L.,
Seabra, C., & Costa, C. (2011).
Personal and Pedagogical
Interaction Factors as
Determinants of Academic
Achievement. Procedia - Social
and Behavioral Sciences, 29, 1596-
1605. doi:http://dx.doi.org/10.1016/
j.sbspro.2011.11.402
Costa, C., Cardoso, A. P., Lima, M. P.,
Ferreira,M., & Abrantes, J. L. (2015).
Pedagogical Interaction and
Learning Performance As
Determinants of Academic
Achievement. Procedia - Social
and Behavioral Sciences, 171, 874-
881. doi:
http://dx.doi.org/10.1016/j.sbspro.2011.1
1.402
Culatta, R. (2011). Innovative
Learning.Retrieved November 14,
2015, from
http://www.innovativelearning.com
/teaching/social_learning_theory.ht
ml
Dempsey, M., Halton, C., & Murphy, M.
(2001).Reflective Learning in
Social Work Education:
Scaffolding the Process.Social
Work Education, 20(6), 631-641.
Frontczak N. T. (1998). A Paradigm for
the Selection, Use and
Development of Experiential
Learning Activities in Marketing
Education. Marketing Education
Review, 8(3), 25–33.
Hay, A., Hodgkinson, M., Peltier, J. W., &
Drago, W. A. (2004). Interaction
and virtual learning. Strategic
Change, 13(4), 193-204.
Ma, X. & Klinger, D. A. (2000).
Hierarchical linear modeling of
student and school effects on
academic achievement. Canadian
Journal of Education, 25(1), 41-55.
Marks, R. B. (2000). Determinants of
Student Evaluations of Global
Measures of Instructor and
Course value. Journal of Marketing
Education, 22(2), 108–119.
Paswan, K. A. & Young, J. A. (2002).
Student Evaluation of Instructor: A
Nomological nvestigation Using
Structural Equation Modeling.
Journal of Marketing Education, 24 (3),
193 – 202.
Vasile, C., Marhan, A.-M., Singer, F. M., &
Stoicescu, D. (2011). Academic
self-efficacy and cognitive load
in students. Procedia - Social and
Behavioral Sciences, 12, 478-482.
doi:http://dx.doi.org/10.1016/j.sbspro.201
1.02.059
Webster, J. & Hackley, P. (1997). Teaching
Effectiveness in TechnologyMediated Distance Learning. The
Academy of Management Journal,
40(6), 1282-1309.
Willemse, M., Lunenberg, M., & Korthagen,
F. (2005). Values in Education: A
Challenge for Teacher
Educators.Teaching and Teacher
Education, 21(2), 205-217.
Woerkom, M. V. (2004). The concept of
critical reflection and its
implications for human resource
development. Advances in
Developing Human Resources, 6(2),
178-192.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

28-12-2018

How to Cite

ลิ้มสุทธิวันภูมิ ท. (2018). ปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการบัญชีสินทรัพย์ เรื่อง ที่ดินอาคารอุปกรณ์และค่าเสื่อมราคา. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 8(1). https://doi.org/10.53848/irdssru.v8i1.214746