การพัฒนาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเขตกรุงเทพมหานครในกลุ่ม นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ

ผู้แต่ง

  • อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน
  • บัณฑิต ผังนิรันดร์
  • วิมลศรี แสนสุข
  • ปราณี ตรีทศกุล
  • อณัญญา ธนะศรีสืบวงศ์
  • ณัฐพงษ์ เตชะรัตนเสฏฐ์

DOI:

https://doi.org/10.53848/irdssru.v8i1.214754

คำสำคัญ:

การพัฒนา, การส่งเสริม, การท่องเที่ยวเขตกรุงเทพมหานคร, ชาวต่างชาติ

บทคัดย่อ

             การวิจัยนี้พัฒนาข้อเสนอทางวิชาการเกี่ยวกับแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเขตกรุงเทพมหานครในกลุ่มนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเป็นรูปแบบหนึ่งของการวิจัยเชิงนโยบาย ซึ่งได้ใช้เทคนิควิธีการเก็บข้อมูลที่หลากหลาย ประกอบด้วย ข้อมูลจากการวิจัยเชิงเอกสารโดยให้ความสำคัญกับผลการวิจัยของอรุณรุ่ง วงศ์กังวานและคณะ (2554) เรื่อง บุพปัจจัยที่ส่งผลต่อความจงรักกักดีต่อแหล่ง
ท่องเที่ยวในเขตกรุงเทพมหานครของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ เพราะได้ดำเนินการเก็บข้อมูลกับกลุ่มนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติโดยตรง เพื่อกำหนดกรอบของเนื้อหาด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยวเขต
กรุงเทพมหานครในกลุ่มนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ พร้อมทั้งได้บูรณาการแนวคิดของ Mancini (2005)Morgan และ Prichard (2000) Holloway (2002) Swarbrooke และ Horner (2001) McKercher(1998) Herrenmans (2006) เพราะ เป็นแนวคิดที่ให้ข้อเสนอเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวที่สอดคล้องกับบริบทของกรุงเทพมหานครประกอบกับเอกสารทางวิชาการอื่นๆ พร้อมกับทำการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ที่ได้มาจากการการสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วมในแหล่งท่องเที่ยวกรุงเทพมหานครยอดนิยมของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ที่ได้มาจากการสัมภาษณ์ชิงลึกจากกลุ่มผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องกับการจัดการท่องเที่ยว และ ได้ทำการวิพากษ์วิจารณ์ และหาข้อสรุปร่วมกันของโครงร่างข้อเสนอแนะทางวิชาการเกี่ยวกับแนวทางในการส่งเสริมการท่องเที่ยวเขตกรุงเทพมหานครในกลุ่มนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ด้วยเทคนิคการสนทนากลุ่มผลการวิจัยเคราะห์ข้อมูล สามารถสร้างข้อเสนอแนะทางวิชาการเกี่ยวกับแนวทางการส่งเสริม
การท่องเที่ยวเขตกรุงเทพมหานครในกลุ่มนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ แบ่งออกเป็น 4 ข้อเสนอแนะ ได้แก่(1) แนวทางส่งเสริมด้านการพัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบการ มี 6 กรอบการดำเนินงาน (2) แนวทางส่งเสริมด้านการพัฒนาการประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวในกลุ่มนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติมี 5 กรอบการดำเนินงาน (3) แนวทางส่งเสริมด้านการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวมี 4 กรอบการดำเนินงานและ (4) แนวทางในการส่งเสริมด้านการพัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกแก่นักท่องเที่ยว มี 4 กรอบการ
ดำเนินงานเป็นต้น

References

Arunrung Wongkangwan. (2554). Antecedent
and Loyalty of Foreign Tourists for
Tourist Attractions Suan Sunandha
Rajabha University.
Boonlert Jittungwattana. (2005). Sustainable
tourism development
Bangkok.Thailand tourism academic
center.
Branford, Malcolm & Lee, Ean.(2004). Tourism
and Cultural Heritage in Southeast
Asia.Bangkok : SEAMEO –SPAFA.
Briggs , Susan.(1997) Successful Tourism
Marketing : A Practical Handbook
,London : Kogsn Page Limited , 1997.
Davidson, R. (1995). Tourism.2nd.ed.
Singapore. Longman: Group Limited.
Euromonitor International.(2011) Euro
monitor International’s top city
destinations ranking.
Online:http://blog.euromonitor.com/20
11/01/euromonitor-internationals-topcity-destinations-ranking.html
Godfrey, K & Clarke, J. (2000).The Tourism
Development Handbook. London:
Cassell.
Herrenmans, I.M.(2006). Cases in sustainable
tourism : an experiential approach
to making. New York : The Haworth
Hospitality Press decisions.
Holloway, J.C, Robinson C.(1995) Marketing
for Tourism .3 edition . NY :Longham.
http://www.stou.ac.th/tourism/Acheive
/
Jiraporn Umpornpat. (2004). Tourism
resources. Sripatum University. Access
on 15 January 2008. Available
athttp://elearning.spu.ac.th/allcontent/
svi314/class6.htm
Mancini, M (2005). Access introduction to
travel and tourism. .Australia :
Thomson/Delmar Learning.
McKercher, Bob. 1998. The business of
nature-based tourism. Elsternwick,
Vic. : Hospitality Press Melbourne.
Mingsan Khaosa-ard. (1991). Complete
Report, Academic project for
operation plan in national industry
development during 9th National
Economic and social Development
Plan ( 1 9 9 2-1 9 9 6 )
Bangkok : Thailand Development
Research Institute Foundation
Mingsan Khaosa-ard. (2012). Thailand
Tourisum, from policy to under
privileglBangkok : The Thailand
Research Fund.
Morgan, N & Prichard, A (2000) Advertising in
tourism and leisure. Oxford :
Butterworth-Heinemann.
Pramode Rodjamras.(2010) Tourists
behaviors. Bangkok :Ramkhamhaeng
University Press.
Rapeephan Thonghor et all. (2006).
Guidelines for the Development of
tourism :Thr Potential and
limitations of the upper Central
Plains Provinces. Research
journal.Ramkhamhaeng University 9(2) :
17-26.
Rumpaiphan Kaewsuriya(2004). Management
Strategy for Sustainable tourism.
Access on 14 April 2007 Available on.
Swarbrooke, J & Horner, S (2001) Business
travel and tourism. Oxford :
Butterworth-Heinemann.
Thammasat University.(2009). Tax policies to
stimutate Thai tourism.Bangkok
Thammasat Press.
tour_description.htm
Tourism Authority of Thailand. (2008)
Academic Information of tourism.
Access on 19 March 2008, Available at
http://webhost.mots.go.th/
Tourism Authority of Thailand. (2008). Policy
and Marketing Plan.Access on 23
March 2008, Available at
http://thai.tourismthailand.org/abouttat/about-tat-24-1.html
Tourism Authority of Thailand. (2009). Urgent
Marketing Plan for image recovering
and tourism simulation 2009.
Bangkok. Tourism Authority of
Thailand.
Tourism Authority of Thailand.(1991).
Operation plan of national
Ecotourism, Bangkok.
Tourism Authority of Thailand.(2008).Bangkok
was voted by American as the best
tourism city in Asia Access on 9
March 2008, Available athttp://thai.
tourismthailand.org/news/content136.html

Downloads

เผยแพร่แล้ว

28-12-2018

How to Cite

วงศ์กังวาน อ., ผังนิรันดร์ บ., แสนสุข ว., ตรีทศกุล ป., ธนะศรีสืบวงศ์ อ., & เตชะรัตนเสฏฐ์ ณ. (2018). การพัฒนาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเขตกรุงเทพมหานครในกลุ่ม นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 8(1). https://doi.org/10.53848/irdssru.v8i1.214754